ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
ระบาดวิทยา เป็นโรคที่ทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจในโคเนื้อเป็นอันดับ 1 ในสหรัฐอเมริกา (US$ 450 billion ในปี 1996) ในประเทศไทยมีการระบาด ประปรายในภาคต่างๆ แต่ภาคใต้ มีการระบาดน้อยกว่าภาคอื่นๆมาก โรคคอบวม
2
ส่วนมากเป็นลูกสัตว์และคาดว่ามีสัตว์ติดเชื้อ ~ 2000 ตัว
ระบาดครั้งล่าสุดในภาคใต้เมื่อ 16 กรกฎาคม 2544 ที่ อ.สุไหงโก-ลก และ อ.ตากใบ จ.นราธิวาสและ ที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี เนื่องจากมีการระบาดมาจากประเทศมาเลเซีย ทำให้มีการลักลอบนำเนื้อสัตว์ป่วยมาขายในเขต ชายแดนไทย และมี การชำแหละซากที่ริมแม่น้ำ สุไหง โก-ลก การระบาดครั้งนี้ ทำให้กระบือตาย~ 350 ตัว โคตาย ~ 100 ตัว ส่วนมากเป็นลูกสัตว์และคาดว่ามีสัตว์ติดเชื้อ ~ 2000 ตัว โรคคอบวม
3
สาเหตุ เป็นโรคที่เกิดจากหลายปัจจัยคือ
1. การจัดการที่ทำให้สัตว์เกิดความเครียด esp. การเคลื่อนย้ายสัตว์ 2. การติดเชื้อโรค เดิมเชื่อกันว่า เกิดจากแบคทีเรียเป็นสาเหตุ แต่ในปี 1993 พบว่ามีเชื้อไวรัส มาเกี่ยวข้องด้วย และน่าจะเป็น สาเหตุสำคัญอันดับแรก ตามมา ด้วยการติดเชื้อแทรกซ้อนจาก แบคทีเรีย ซึ่งอยู่ในทางเดินหายใจตามปกติ โรคคอบวม
4
สาเหตุ (ต่อ) 3. สภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม esp.ฝนตก
เชื้อไวรัสที่สำคัญคือ Coronavirus (90%) นอกจากนี้อาจมีไวรัสที่ก่อโรคในทางเดินหายใจอื่นๆ ร่วมด้วย ส่วนแบคทีเรียคือ เชื้อรูปร่างแท่งย้อมติดสี Gram negative ชื่อ Pasteurella haemolytica biotype A, serotype 1 (Al) หรือ Pasteurella multocida ซึ่งเชื้อ Pasteurella สามารถสร้าง endotoxin 3. สภาวะภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม esp.ฝนตก โรคคอบวม
5
อาการ สัตว์มักจะแสดงอาการภายใน 1-4 สัปดาห์หลังการเคลื่อนย้ายสัตว์
สัตว์มักจะแสดงอาการภายใน 1-4 สัปดาห์หลังการเคลื่อนย้ายสัตว์ ระยะฟักตัวของโรคสั้นมาก หลังจากเชื้อเริ่มแบ่งตัวภายใน 2-3 ชม. ทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษ (septicemia and toxemia) อาการมักแสดงออกใน 2 แบบ คือ acute และ peracute มักตายภายใน 6-24 ชม.หลังแสดงอาการให้เห็น โรคคอบวม
6
อาการ เริ่มจากซึม ไม่เคลื่อนไหว ไข้สูง น้ำมูกน้ำลายไหล บวมที่คอหอยและบวมลงมาเรื่อยๆ จนถึงเสือร้องไห้ (brisket) เยื่อบุมีเลือดคั่ง หายใจลำบากมาก ตาย กระบือที่แสดงอาการมักไม่มีโอกาสรอด โรคคอบวม
7
อาการ ในกระบือสัตว์มีอาการแบบ peracute ไข้สูง คอบวม ปอดบวมอย่างรุนแรง ตายใน ชม. หลังแสดงอาการ สารพิษที่เชื้อสร้างขึ้นทำให้คอบวมกดหลอดลม ทำให้สัตว์หายใจลำบากมาก โรคคอบวม
8
ลูกโคแสดงอาการบวมน้ำที่ส่วนหัวและคอ
ที่มาภาพ โรคคอบวม
9
วิการ คอบวมน้ำ พบจุดเลือดออกทั่วไปในอวัยวะต่างๆ ช่องอกมีน้ำเลือด ปอดบวม การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะทั่วไป เช่น Oxytetracycline, Sulfa, Pen-strep จะให้ยาได้ผลเฉพาะเมื่อรักษา ในระยะแรกๆ ที่เริ่มมีไข้และ ต้องฉีดยาเข้าเส้นเลือด
10
การควบคุมโรค ให้วัคซีน(ต่อเชื้อแบคทีเรีย) ตามโปรแกรมปีละ 2 ครั้ง โดยเฉพาะก่อนเคลื่อนย้ายสัตว์ 2-4 อาทิตย์ หากเคลื่อนย้ายสัตว์ ควรให้ยาปฏิชีวนะที่ต้นทางแบบ long actingและเมื่อสัตว์เดินทางมาถึงให้แยกสัตว์ไว้ต่างหาก ให้วิตามินละลายน้ำ สัตว์ที่อาการอ่อนเพลียมากควรให้ยาปฏิชีวนะซ้ำ ปัญหาในการควบคุมโรคคือ การทำวัคซีนได้อย่างไม่ทั่วถึงและการไม่ระมัดระวังในการทำลายซาก ทำให้เกิดการลักลอบเคลื่อนย้าย การชำแหละซากในแม่น้ำ
11
การควบคุมโรค (ต่อ) กรมปศุสัตว์ได้ให้การรักษาสัตว์ป่วยด้วยยาปฏิชีวนะและระดมกำลัง ring vaccination ในรัศมี 5 กม.รอบๆ อำเภอที่เกิดโรคระบาด พร้อมกับห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์ระหว่าง อำเภอที่เกิดโรค
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.