งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์
บทที่ 11 การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์ BC428 : Research in Business Computer

2 การวิเคราะห์สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์
ใช้วัดผลของข้อมูลที่มีมาตรวัดที่มีคุณภาพต่ำได้ ข้อมูลไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ สามารถวิเคราะห์ได้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเล็กได้ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์จะด้อยกว่าสถิติแบบใช้พารามิเตอร์ BC428 : Research in Business Computer

3 รายละเอียดในบทนี้ การทดสอบค่ากลางของประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางระหว่างประชากร 2 กลุ่ม การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม BC428 : Research in Business Computer

4 การทดสอบค่ากลางของประชากร 1 กลุ่ม
เป็นการทดสอบว่าค่ากลาง(ค่ามัธยฐาน) มีความแตกต่างจากค่าที่กำหนดไว้หรือไม่ วิธีการทดสอบจะใช้วิธีการทดสอบรันส์(Run Test) สมมติฐานได้ 3 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 การทดสอบแบบสองทาง(2-Tailed Test) H0: M =  และ H1 : M   แบบที่ 2 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) H0: M   และ H1 : M   แบบที่ 3 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) H0: M   และ H1 : M   BC428 : Research in Business Computer

5 กรณีที่เป็น 1-tailed จะต้องพิจารณาเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้
ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M < θ 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M > θ BC428 : Research in Business Computer

6 ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม
Data11_1.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. ระดับไอคิว ข้อมูลที่เก็บได้เป็นดังนี้ 140,120,132,100,100,145,160,100,150,150,148,149,130,150,143 ต้องการทดสอบว่าไอคิว(ตัวแปร IQ) เท่ากับ140 หรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  Runs… BC428 : Research in Business Computer

7 Ho : ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเท่ากับ 140
สถิติทดสอบ คือ Z-Test = ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเท่ากับ 140 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

8 ผลการวิเคราะห์ ตัวแปร N SD Z Sig. ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 15 134.47 20.325 -0.392 0.695 Test value = 140 จากตารางแสดงระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พบว่า ระดับไอคิวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีค่าเท่ากับ 140 ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

9 การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางระหว่างประชากร 2 กลุ่ม
จำแนกการทดสอบเป็น 2 เรื่อง กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

10 กรณีที่ประชากร 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน
ใช้สถิติทดสอบของแมน-วิทนี ยู(Mann-Whitney U Test) สามารถเขียนสมมติฐานได้ 3 แบบ ดังนี้ แบบที่ 1 การทดสอบแบบสองทาง(2-Tailed Test) Ho: M1 = M2 และ H1 : M 1  M2 แบบที่ 2 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) Ho: M1  M2 และ H1 : M1  M2 แบบที่ 3 การทดสอบแบบทางเดียว (1-Tailed Test) Ho: M1  M2 และ H1 : M1  M2 BC428 : Research in Business Computer

11 การเลือกใช้สถิติทดสอบ
เลือก U เมื่อจำนวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ในแต่ละกลุ่มไม่เกิน 10 ค่า (n1 ≤ 10 และ n2 ≤ 10) กรณีที่เป็น 1-tailed จะใช้ค่า Sig/2 เลือก Z จะใช้เมื่อจำนวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมีค่าเกิน 10 ค่า (n1 > 10 และ n2 > 10) กรณีที่เป็น 1-tailed จะใช้ ตารางนี้ ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test) เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M1 < M2 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M1 > M2 BC428 : Research in Business Computer

12 Analyze  Nonparametric Tests  2 Independent Samples…
Data11_2.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. นักร้องที่ต้องการโหวต  Anny  Sara 2. คะแนนโหวต (0 – 10) คะแนน ทดสอบว่า Anny ร้องเพลงได้คะแนนโหวตดีกว่า Sara จริงหรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  2 Independent Samples… BC428 : Research in Business Computer

13 BC428 : Research in Business Computer

14 การทดสอบสมมติฐาน 1. Ho : Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงไม่มากกว่า Sara H1 : Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงมากกว่า Sara 2. สถิติทดสอบ คือ Z = 3. ค่า Sig (2-tailed) = เนื่องจากสมมติฐานเป็น 1-tailed ซึ่ง ค่า Sig ที่ได้จากการคำนวณใหม่ มีค่าเป็น Sig(1-tailed) = /2 = 1 – 0.018 = 0.982 4. ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5. ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ Anny ได้คะแนนโหวตในการประกวดร้องเพลงไม่มากกว่า Sara ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

15 ผลการวิเคราะห์ คะแนนโหวต N ค่าเฉลี่ยอันดับ Z Sig. Anny 8 7.19 -2.098 0.982 Sara 12 12.71 จากตารางแสดงการวิเคราะห์ผลโหวตของนักร้อง พบว่า นักร้อง Anny ร้องเพลงได้ไม่ดีกว่า Sara ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

16 การทดสอบกรณีที่ประชากร 2 กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน
ลักษณะข้อมูลจะเป็นข้อมูลแบบคู่(Paired Data) ใช้สถิติทดสอบของวิลคอกซัน(Wilcoxon Test) คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  2 Related Samples BC428 : Research in Business Computer

17 ค่า Sig ที่แท้จริง(กรณี 1-tailed test)
เมื่อค่า Z เป็น บวก เมื่อค่า Z เป็น ลบ H1 : M1 < M2 1-[Sig(2-tailed)/2] Sig(2-tailed)/2 H1 : M1 > M2 BC428 : Research in Business Computer

18 ต้องการทดสอบว่าน้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักแตกต่างกันหรือไม่
Data11_3.sav คู่ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 แฝดพี่ 49.3 95 46 86 43 54.6 57 44 56 แฝดน้อง 48 90 40 56.5 60 40.8 89.7 ต้องการทดสอบว่าน้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

19 Wilcoxon Signed Ranks Test
NPar Tests Wilcoxon Signed Ranks Test BC428 : Research in Business Computer

20 1. Ho : น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน
สถิติทดสอบ คือ Z = ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

21 ผลการวิเคราะห์ น้ำหนัก N SD Z Sig. แฝดพี่ 10 61.69 19.60 -0.102 0.919 แฝดน้อง 61.50 21.04 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของน้ำหนักของฝาแฝด พบว่า น้ำหนักของฝาแฝดพี่น้อง มีน้ำหนักไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

22 Quiz 5 นาที หยิบกระดาษขึ้นมาคนละ 1 แผ่น
ลองทดสอบว่า IQ ของ แฝดพี่มากกว่าแฝดน้อยหรือไม่ ให้เวลาคิดและทดสอบสมมติฐาน Quiz 5 นาที BC428 : Research in Business Computer

23 การทดสอบความแตกต่างของค่ากลางประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม
การทดสอบแบ่งเป็น 2 กรณีคือ - กรณีที่ประชากร k กลุ่มเป็นอิสระกัน - กรณีที่ประชากร k กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

24 กรณีที่ประชากร k กลุ่มเป็นอิสระกัน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบมีมากกว่า 2 กลุ่ม ใช้สถิติทดสอบของคัสคอล วอลลิส เอช (Kruskal Wallis H Test) สมมติฐานที่ใช้สำหรับการทดสอบ คือ H0 : ค่ากลางของประชากรทั้ง k กลุ่มไม่แตกต่างกัน H1 : มีค่ากลางอย่างน้อย 2 กลุ่มที่มีความแตกต่างกัน BC428 : Research in Business Computer

25 ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. อาชีพ
Data11_4.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. อาชีพ  นักเรียน  ข้าราชการ  พนักงานบริษัท 2. ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์แต่ละครั้ง นาที ต้องการทดสอบว่าระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ของทั้ง 3 อาชีพมีความแตกต่างกันหรือไม่ คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  k Independent Samples… BC428 : Research in Business Computer

26 NPar Tests Kruskal-Wallis Test BC428 : Research in Business Computer

27 1. Ho : ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ของทั้ง 3 อาชีพไม่แตกต่างกัน
สถิติทดสอบ คือ Chi-Square = 6.632 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ มีอย่างน้อย 2 อาชีพที่ใช้ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

28 ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์
ผลการวิเคราะห์ ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์ N ค่าเฉลี่ยอันดับ Chi-Square Sig. นักเรียน 7 16.36 6.632 0.036 ข้าราชการ 8 8.00 พนักงานบริษัท 10.64 จากตารางแสดงการวิเคราะห์ระยะเวลาในการใช้โทรศัพท์โดยจำแนกตามอาชีพ พบว่า มีอย่างน้อย 2 อาชีพที่ใช้ระยะเวลาการใช้โทรศัพท์แต่ละครั้งแตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

29 กรณีที่ประชากร k กลุ่มไม่เป็นอิสระกัน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบมีมากกว่า 2 กลุ่ม มีปัจจัยในการควบคุมข้อมูลให้มีความเกี่ยวข้องกัน คล้ายกับการทดสอบTwo-way ANOVA ใช้สถิติทดสอบของฟรีดแมน (FriedmanTest) BC428 : Research in Business Computer

30 สมมติฐานที่ใช้สำหรับการทดสอบ คือ
H0 : ค่ากลางของประชากรทั้ง k กลุ่มไม่แตกต่างกัน H1 : มีค่ากลางอย่างน้อย 2 กลุ่มที่มีความแตกต่างกัน คำสั่ง Analyze  Nonparametric Tests  k Related Samples… BC428 : Research in Business Computer

31 ระดับความชอบ(1- 5 คะแนน)
Data11_5.sav ต้องการทดสอบว่า ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิดแตกต่างกันหรือไม่ นักดื่ม ระดับความชอบ(1- 5 คะแนน) เอสเพรสโซ่ คาปูชิโน ลาเต้ มอคค่า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 BC428 : Research in Business Computer

32 NPar Tests Friedman Test BC428 : Research in Business Computer

33 1. Ho : ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิด ไม่แตกต่างกัน
สถิติทดสอบ คือ Chi-Square = 0.628 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ระดับคะแนนความชื่นชอบในกาแฟ 4 ชนิด ไม่แตกต่าง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

34 ผลการวิเคราะห์ คะแนนความชอบ N SD Chi-Square Sig. เอสเพรสโซ 10 3.20 1.317 0.628 0.890 คาปูชิโน 3.30 1.160 ลาเต้ 3.10 1.101 มอคค่า 0.738 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างของคะแนนความชอบกาแฟทั้ง 4 ชนิด พบว่า ระดับคะแนนความชอบในกาแฟทั้ง 4 ชนิดไม่แตกต่างกัน ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

35 อ่านหนังสือด้วยเผื่อ Quiz คราวหน้า
การบ้านท้ายบทที่ 11 อ่านหนังสือด้วยเผื่อ Quiz คราวหน้า BC428 : Research in Business Computer


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google