ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคของระบบไหลเวียนโลหิต
1. Infectious Bursal Disease 2. Leukosis and Sarcoma 3. Marek’s disease 4. Avian malaria 5. Leucocytozoonosis 6. Chicken anemia 7. Reovirus infection
2
Avian Leukosis and Sarcoma
เป็นโรคเนื้องอกที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในไก่ >20wk ทำให้เกิดการแพร่ขยายของเซลเม็ดเลือดขาว ชนิดลิมโฟซัยท์ และทำให้เกิดเนื้องอกของเนื้อเยื่ออวัยวะอื่นๆ ซึ่งที่พบได้บ่อย คือ เกิดเนื้องอกที่ตับ บางครั้งเรียก โรคตับโต พบได้ในไก่ เป็ด ห่าน ไก่ฟ้า นกคานารี เป็นต้น
3
การติดต่อ อาการ 1. Vertical transmission
2. Horizontal transmissionเป็นโรคที่มีระยะฟักตัวนานมาก wk. อาการ แบบที่ 1 (Lymphoid Leukosis/Big Liver disease) ซึม เดินช้าๆ เดินเขยก ก้าวขาไม่ถนัด อัมพาตที่ปลายเท้า บางครั้งอ้าปากหายใจ (แต่ไม่มีเสียงดัง) นัยน์ตาขุ่นมัว บางตัวซีด/คล้ำ, ขาดน้ำ ~ Marek’s disease.
5
แบบที่ 2 (Erythroblastosis)
อ่อนเพลีย ซีดเล็กน้อย ต่อมาเลือดคั่งที่หงอน cyanosis เบื่ออาหาร มีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ต่อมาจะซีดทั่วร่างกาย แบบที่ 3 (Myelocytomatosis) กระดูกมีรูปร่างผิดปกติ โดยเฉพาะในส่วนของรอยต่อ เช่น กระโหลก หน้าแข้ง อก แบบที่ 4 (other tumors)
6
โรคมาเร็กซ์ (Marek’s disease)
เป็นโรคที่มีการทวีจำนวนของเซลเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยท์ เกิดเนื้องอกที่อวัยวะภายใน พบในสัตว์ปีกอื่นๆ, หนูนา แฮมสเตอร์ และหนูตะเภา การติดต่อ 1. สัมผัส : สะเก็ด รังแค ขนอุย โรคแพร่ โดยฝุ่นจากโคนขนของไก่!!!!! 2. air borne
7
อาการ 1. แบบเฉียบพลัน เริ่มได้รวดเร็ว หากไม่ได้ทำวัคซีนอาจพบอาการได้ตั้งแต่อายุ 14 วัน ไก่อายุน้อย ทำลายทั้ง Thymus และ Bursa >>กดการสร้างภูมิคุ้มกัน มีอาการในระบบหายใจ ชัก คอบิด มักพบว่าผิวหนังมีก้อนเนื้องอกแทรก ตุ่มขนโต การเจริญของขนผิดปกติ
8
2. แบบเรื้อรัง (แบบแสดงอาการชัดเจน)
2. แบบเรื้อรัง (แบบแสดงอาการชัดเจน) โรคจะปรากฎช้าๆ ทำให้ไก่ทยอยตายนับเป็นสัปดาห์หรือเดือน มักเป็นในไก่อายุมาก 8-9 wk หรือ wk. wbc แทรกในเนื้อเยื่อและเส้นประสาท 1. sciatic nerve อักเสบ (โคนขา) ทำให้ขาเป็นอัมพาต 2. vagus nerve อักเสบ (หลอดอาหารและกระเพาะ) ทำให้กลืนอาหารไม่ได้ ซากผอมแห้ง
9
ขบวนการการติดตั้งเชื้อมาเร็กซ์
MDV feather debris Infection of respiratory tract (day 1) Infection of lymphoid tissues (day 3-7) Lymphoreticulitis, Lymphbid atrophy Immunosuppression (day 7 / day 21+) Productive infection of feather follicle epithelium (day 5+) Cell-associated viremia (day 5+) Peripheral nerve lesions (day 10+) neurolymphomatosis Visceral lumphomas (day 14+) Atherosclerosis
11
3. อาการตาบอด/โรคตาสีเทา/โรคตาไข่มุก
เนื่องจากเซลเม็ดเลือดขาวแทรกอยู่ในรูม่านตาทำให้รูม่านตา ไม่ตอบสนองต่อแสง บอด * โรคมาเร็กซ์และลิวโคซิสจะคล้ายกันมาก ต่างกันที่จะพบวิการเส้นประสาทอักเสบเฉพาะใน MD เท่านั้น ในสเตรนที่รุนแรงมาก ๆ พบอาการในกลุ่มที่ทำวัคซีนตั้งแต่อายุน้อยได้ ( 6 สัปดาห์) การรักษา ไม่มี
12
การป้องกัน ปัจจัยหลัก ความสะอาด และการล้างเล้า การจัดการช่วยลดปัญหาได้
ความสะอาด และการล้างเล้า การจัดการช่วยลดปัญหาได้ เลี้ยงไก่เล็กแยกจากแหล่งที่มีการติดเชื้อสูง อย่างน้อย 6 สัปดาห์ ฝุ่นเป็นแหล่งของเชื้อโรค แมลงปีกแข็ง
13
วัคซีนลดความเสียหายของโรคโดย
ลดการเพิ่มจำนวนเชื้อใน Feather follicle ทำให้ ลดการเพิ่มจำนวนเชื้อในไก่ และลดจำนวนเชื้อในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดเนื้องอกที่อวัยวะภายในและ เส้นประสาท ป้องกันการทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.