งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การสอบสวนและควบคุม การระบาดระยะต้น ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1) Welcome to the Case Investigation of Avian Influenza. สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 7 พฤษภาคม 2552

2 ตรวจจับผู้ป่วยสงสัย/ การระบาดให้ได้ ในระยะแรก ๆ อย่างรวดเร็ว
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังสอบสวนโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1) ตรวจจับผู้ป่วยสงสัย/ การระบาดให้ได้ ในระยะแรก ๆ อย่างรวดเร็ว ยืนยันการวินิจฉัย ค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกัน การติดเชื้อในประเทศ ประเมินสถานการณ์ เพื่อกำหนด มาตรการควบคุมป้องกันที่เหมาะสม The purpose of the rapid response and containment strategy is to stop, or at least slow the spread of influenza that may become pandemic at the source of its emergence in order to minimize global morbidity and mortality. Reference: WHO rapid response and containment guidelines

3 นิยามที่ใช้ในการเฝ้าระวัง
5 พฤษภาคม 2552 Reported case Suspected case Confirmed case Excluded case Once at the hospital, the RRT will need to have a working case definition for the outbreak. First, what is a case definition?

4 Reported Case (ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง
ได้แก่ ผู้ที่มีอาการหรืออาการแสดง ต่อไปนี้ ไข้ อุณหภูมิมากกว่าหรือเท่ากับ 38º C ร่วมกับ อาการอย่างใดอย่างหนึ่งได้แก่ น้ำมูก, ไอ, เจ็บคอ, หายใจผิดปกติ (หอบ,ลำบาก), ปวดกล้ามเนื้อหรือ แพทย์สงสัยว่าเป็นปอดบวม หรือ ไข้หวัดใหญ่ และ มีประวัติข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง ในระยะ 7 วัน ก่อนเริ่มป่วย มีผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานป่วยสงสัยไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ภายใน 7 วัน ก่อนเริ่มป่วย สัมผัสสัตว์ปีกที่ป่วย/ ตาย โดยตรงในระยะ 7 วันก่อนป่วย มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ 14 วันก่อนป่วย เป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เป็นผู้ป่วยปอดอักเสบรุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้

5 Suspect Case (ผู้ป่วยที่สงสัย)
หมายถึง ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง ร่วมกับ มีผลการตรวจ PCR พบมีการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ (Influenza A) และ ไม่พบผลบวก เมื่อใช้ Primer ที่จำเพาะกับเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ของคน (Seasonal Influenza A: H1, H3) หรือ เชื้อไวรัสไข้หวัดนก (Avian influenza : H5)

6 Confirmed Case (ผู้ป่วยยืนยัน)
ได้แก่ ผู้ป่วยที่สงสัย (suspect) และ มีผลการตรวจยืนยันว่า ติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1) ด้วยวิธีใดวิธีต่อไปนี้ RT-PCR หรือ เพาะเชื้อไวรัสได้ หรือ ค. วิธี Neutralization test โดยพบระดับภูมิคุ้มกันจากเลือดในระยะพักฟื้นสูงขึ้น 4 เท่าจากระดับในระยะเฉียบพลัน

7 Excluded Case ได้แก่ ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง ที่มี
ผลการตรวจ PCR ว่าติดเชื้อไวรัสไข้หวัด ใหญ่ของคน (Seasonal Influenza A: H1, H3) หรือ Avian influenza (H5) หรือ influenza B หรือ ให้ผลลบต่อการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่

8 แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A (H1N1)
ผู้ป่วยมีไข้ ≥ 38๐C+ อาการติดเชื้อทางเดินหายใจ + ประวัติเดินทางมาจากต่างประเทศ 7 วันก่อนป่วย มาจากพื้นที่ ที่มีผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ชนิด A(H1N1) ใช่ หรือ ไม่ ใช่ ไม่ใช่ เก็บ TS / NPS ส่งตรวจ แนะนำให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้อื่น และสังเกตผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ถ้า มีอาการให้ไปรับการรักษาที่ รพ. รับ admit ในห้องแยก local SRRT ติดตามผู้ สัมผัสใกล้ชิด ผล PCR Influenza A: positive ติดตามผล Lab 1

9 ยืนยันพบเชื้อสายพันธุ์
1 Exclude ผู้ป่วย แต่ แนะนำให้ ผู้ป่วยติดตามอาการตนเอง สังเกตผู้สัมผัสร่วมบ้าน 7 วัน ใช่ ไม่ใช่ ผู้สัมผัสมีอาการ คล้ายไข้หวัดใหญ่ ใช่ หรือ ไม่ แนะนำให้ ไปรับการ รักษาที่ รพ. สิ้นสุด ค้นหา&ติดตาม ผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สัมผัส มีไข้ ≥ 38 ๐C ให้ยาต้าน ไวรัส แบบ ป้องกัน 10 วัน อสม วัดไข้ ทุกวัน x 7 วัน หลังสัมผัส วันสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งไป เก็บ TS หรือ NPS ส่งตรวจ ส่งต่อ ผู้ป่วยไป ให้ยาต้านไวรัส แบบ อสม วัดไข้ทุกวัน x 7 วัน หลังสัมผัสวันสุดท้าย ถ้ามีไข้ส่งไปรักษาที่ รพ. ติดตามผล Lab ยืนยันพบเชื้อสายพันธุ์ ใหม่ Flu A (H1N1) ติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิด ค้นหาผู้ป่วยใหม่ในชุมชน เก็บ TS / NPS ส่งต่อผู้ป่วยไป

10 หมายเหตุ ผู้สัมผัสใกล้ชิด ยึดตามนิยามของ WHO ได้แก่
ผู้ที่อาศัยอยู่ร่วมกับผู้ป่วย ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยขณะเจ็บป่วย ผู้สัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยตรง กรณีพบผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A (H1N1) ในพื้นที่ ทีม SRRT จะประเมินสถานการณ์ทุกวัน จนครบ 14 วัน นับแต่วันที่แยกผู้ป่วยยืนยันออกจากชุมชน การให้ยาต้านไวรัส Prophylaxis กรณีมียาจำกัด จะพิจารณาให้กลุ่มผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีอาการเป็นกลุ่มแรก

11 กรณีที่ต้องทำการสอบสวนโรค
ผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวัง/ สงสัย กลุ่มก้อนของไข้หวัดใหญ่ / ปอดอักเสบ มีปอดบวม 2 ราย ในครอบครัวเดียวกัน มีปอดบวม 2 ราย หรือ Influenza like illness > 5 ราย ในชุมชนเดียวกัน ( โรงเรียน/หมู่บ้าน/ที่ทำงาน/เรือนจำ/สถานเลี้ยงเด็ก) มีปอดบวม 1 ราย ในบุคลากรสาธารณสุข ผู้ป่วยปอดอักเสบเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้

12 ทีมดำเนินการสอบสวน SRRT ระดับพื้นที่ (ตำบล อำเภอ จังหวัด) สอบสวน ผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวัง ทุกราย SRRT ระดับเขต และส่วนกลาง จะลงพื้นที่สนับสนุนการสอบสวน เมื่อเริ่มพบผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัย SRRT ส่วนกลาง จะร่วมดำเนินการสอบสวนผู้ป่วยยืนยันในระยะแรก ทุกราย

13 แนวทางการสอบสวนโรค 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ อายุ เพศ ที่อยู่ที่ติดต่อได้
1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ อายุ เพศ ที่อยู่ที่ติดต่อได้ 2. อาการทางคลินิก และวันเริ่มป่วย ประวัติการป่วยส่วนตัวที่ อาจเกี่ยวข้อง 3. ประวัติการเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง และประวัติการสัมผัส ระยะเวลา สถานที่พักในต่างประเทศ สายการบิน ประวัติการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยรายอื่น 4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 5. ค้นหาและติดตามผู้สัมผัสใกล้ชิดเพื่อดูอาการใน อย่างน้อย 7 วัน นับจากวันสุดท้ายที่มีประวัติสัมผัส 6. ติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเป็นรายวัน 7. ค้นหาผู้ป่วยรายอื่น ๆ ในชุมชน

14 การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Routine Lab ที่โรงพยาบาล CBC X-rays ทุกรายที่มีอาการเข้าได้ Hemoculture อื่น ๆ Lab เพิ่มเติมส่ง ศูนย์วิทย์ เขต และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

15 การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ ควรเก็บตัวอย่างส่งตรวจ มากกว่า 1 ครั้ง ต่างวัน
1. จากระบบทางเดินหายใจ เก็บ Nasopharyngeal aspiration/ Nasopharyngeal swab/ Throat swab ใส่ใน VTM นำส่งในกระติกน้ำแข็งที่มีน้ำแข็งหรือ ice pack เพื่อรักษาอุณหภูมิให้ได้ 2-4 องศาเซลเซียส ให้ส่งถึงห้องปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ / ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายใน 48 ชั่วโมง 2. ซีรั่มคู่ (Paired sera) เก็บครั้งแรกเมื่อพบผู้ป่วย ครั้งที่สองห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 14 วัน ควรเก็บตัวอย่างส่งตรวจ มากกว่า 1 ครั้ง ต่างวัน 15

16 ผู้สัมผัสใกล้ชิด ประกอบด้วย
ผู้สัมผัสใกล้ชิด ประกอบด้วย ผู้ร่วมดูแลรักษา (นับจากวัน Admit จน Discharge) ทุกคนที่อยู่ร่วมบ้าน คนอื่นๆที่สัมผัสสิ่งคัดหลั่ง (นับจาก 1 วันก่อนเริ่มมีอาการ) เฝ้าสังเกตอาการ 7 วัน (นับจากวันสุดท้ายที่สัมผัสผู้ป่วย) ให้ความรู้ วิธีการติดต่อ วิธีการป้องกัน ให้วัดไข้เอง ไปเยี่ยมหรือโทรติดตามทุกวัน หากมีไข้ให้รีบค้นหาสาเหตุ สรุปผลรายวัน ให้ สสจ สคร

17 จุดประสงค์ของการค้นหาผู้สัมผัส
ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ที่เข้าได้กับนิยาม จัดหามาตรการป้องกันสำหรับผู้สัมผัส เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย และ หยุดยั้งการแพร่กระจายเชื้อ :- ยาต้านไวรัส (Oseltamivir) ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรค The purpose of contact tracing is to: - Find new cases that meet the specified case definition - Provide targeted interventions to decrease risk of illness and interrupt further transmission - This may include treatment, like an antiviral if available or precautionary information on how the disease is spread in order to protect those close to them

18 จะค้นหาผู้สัมผัสอย่างไร
รวบรวมกิจกรรมของผู้ป่วยในช่วง 7 วันก่อนเริ่มมีอาการป่วย 2. ในแต่ละกิจกรรมของผู้ป่วย พยายามค้นหาผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดในระยะ 1 เมตร ให้ได้ทั้งหมด 3. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทั้งหมด ที่รวบรวมได้ To identify contacts of a suspect avian influenza case, there are several steps to follow. First, Review the case-patient’s activities for the seven days before onset of symptoms until the patient was isolated in the hospital or clinic. Next, Identify all close contacts based on the patient’s activities. Close contacts can be defined as people who came within 1 meter of shared space with the patient beginning 1-2 days before onset of symptoms and ending with isolation in the hospital or someone living with or caring for a patient, any other direct contact with patient (especially kissing, embracing, or sharing eating utensils). Finally, verify all information collected. Verification of information must include at least two overlapping or coinciding accounts.

19 ประเด็นหลักที่ต้องรวบรวม
ใครบ้างที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย? กิจกรรมอะไรที่ทำร่วมกับผู้ป่วย? สถานที่ใด ที่ทำกิจกรรมนั้น? ระยะเวลาที่สัมผัสหรือมีกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วย ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ของผู้สัมผัส สภาวะสุขภาพของผู้สัมผัส เพศ อายุ และอาชีพของผู้สัมผัส The key information to gather to identify potential contacts of your case include: - Who did you come into close contact with? - What activities were you doing? - Where did this take place? - When did you come into contact with this person? You will also need to record a way to reach that person, their health status, and some demographic information.

20 ข้อมูลที่รวบรวมจากผู้สัมผัส
ข้อมูลทั่วไป ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ อายุ เพศ ประวัติการสัมผัส การสัมผัสกับผู้ป่วย ประวัติเสี่ยงอื่นๆที่สำคัญ อาการและการตรวจร่างกาย อุณหภูมิ อาการไอ และคออักเสบ อาการและอาการแสดงอื่น ๆ Information to gather from a contact will include demographic and contact information, such as the individual’s name, address, occupation, age, and gender. You will also want to know about the contact’s exposure to the case-patient, and any other high-risk exposures they may have had. Clinical information to collect may involve performing a physical exam on the contact. Take the contact’s temperature, check for the presence of a sore throat or coughing, and ask about any signs or symptoms that might indicate respiratory infection.

21 มาตรการควบคุมการระบาดเบื้องต้น
(Early containment) WHO Guideline for Pandemic Flu2006

22 Early containment การควบคุมการระบาดเบื้องต้น :-
การนำมาตรการต่างๆ ที่ช่วยลดการแพร่ระบาด หรือจำกัดขอบเขตของการระบาดมาปฏิบัติ ระยะเริ่มต้นของการระบาด=> ระยะแรกที่เพิ่งตรวจพบการระบาด ระยะเวลาถัดมาของการระบาด => ระยะหลังจากที่การระบาดได้ดำเนินผ่านไป แล้วมากกว่า 3 รุ่น (Generation) หรือ 14 วัน

23 ระยะเริ่มต้นของการระบาด
1. การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มเติม 2. การค้นหาและติดตามผู้สัมผัส 3. การให้ยาต้านไวรัส 4. การติดตามอาการเจ็บป่วยของผู้สัมผัส 5. การดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย 6. การควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล

24 1. การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ค้นหาทั้งเชิงรุก และเชิงรับ
รายบุคคล (Individual) กลุ่มก้อน (Cluster) Once you have evaluated a patient for suspect avian influenza and sent the appropriate samples for laboratory analysis, you need to determine if more cases exist that you do not yet know about. Next we will focus on finding out whether there might be more cases for you to investigate.

25 จะค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมอย่างไร
ต้องพิจารณาลักษณะอาการที่เป็นไปได้ ทั้งหมดของผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มสอบสวนโรค (ซึ่งจะช่วยบอกขอบเขตของการระบาด พึงระลึกเสมอว่าอาจมีทั้งผู้ติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการ และ ผู้ป่วยที่ตายหรือหายเรียบร้อยแล้ว) Active ไปค้นหาที่ หน่วยบริการสาธารณสุขพื้นที่, บ้านผู้ป่วยและชุมชนหรือหมู่บ้านติดกัน Passive จากผู้ที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่พบผู้ป่วย เพื่อให้ชุมชนช่วยแจ้งหากพบผู้ที่มีอาการสงสัย When attempting to find cases at the beginning of the outbreak, it’s best to consider all symptomatic persons as potential cases (“casting a wide net”). This can help determine the size and geographic boundaries of the outbreak since cases that are recognized first could represent the beginning of a large outbreak. Keep in mind that there may also be some asymptomatic cases and cases that have already expired. Cases may be identified through active or passive case finding strategies. Active case finding involves the investigator visiting or calling health facilities and neighboring communities that you may suspect of having cases to identify additional cases. Examples include visiting health care provider offices, clinics, hospitals, neighbors homes and nearby communities. Passive strategies for case finding let the health care facilities or the general public come to you. Public information messages in the affected area may encourange local communities to identify additional cases and report them to you.

26 Case Finding Interview การสัมภาษณ์เพื่อค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
ใครบ้างที่จะถูกสัมภาษณ์ ผู้ป่วย สมาชิกในครอบครัว/ผู้สัมผัสร่วมบ้าน บุคลากรสาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วย

27 2. การค้นหาและติดตามผู้สัมผัส
Contact tracing การค้นหา บุคคลที่เข้ามาสัมผัสคลุกคลีใกล้ชิด และมีโอกาสติดเชื้อจากผู้ป่วยได้ You have just practiced conducting interviews to identify additional cases of avian influenza. Once a case of avian influenza is identified, contact tracing is an important next step of the rapid response process.

28 3. การให้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกัน Antiviral prophylaxis
วัตถุประสงค์: เพื่อ ป้องกันการแพร่ระบาด ลดอัตราการเจ็บป่วยและอัตราการเสียชีวิต กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน (Closed contact) :- ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยขณะเจ็บป่วย ผู้ที่อาศัยอยู่ร่วมกับผู้ป่วย ผู้ที่สัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยตรง เกณฑ์อื่นที่ใช้พิจารณา เช่น กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการเจ็บป่วยรุนแรงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ (เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว) You have just practiced conducting interviews to identify additional cases of avian influenza. Once a case of avian influenza is identified, contact tracing is an important next step of the rapid response process.

29 4. การติดตามอาการเจ็บป่วยของผู้สัมผัส
ติดตาม อาการเจ็บป่วย อย่างน้อย 7 วัน หลังจากที่ได้สัมผัสผู้ป่วย สนับสนุน/กระตุ้นให้ติดตามสังเกตอาการด้วยตัวเอง ให้รายงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเมื่อเริ่มมีอาการ เยี่ยมบ้าน หรือโทรศัพท์ ติดตามอาการ ทุกวัน แนะนำให้ผู้สัมผัสทั้งหมด เฝ้าสังเกตอาการอยู่ ที่บ้าน (home quarantine) อย่างน้อย 7 วัน หากมีอาการ แจ้ง จนท.สาธารณสุขทันที เพื่อ พิจารณาส่งต่อเข้ารับการรักษาใน รพ.

30 5. การดำเนินการกับผู้ป่วย Case management
รับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาลและอยู่ในห้องแยกโรค เมื่อทราบผล Lab จึงจัดแบ่งกลุ่มตามความจำเป็น ในกรณี ที่ห้องแยกโรคมีจำนวนจำกัด ถ้าผู้ป่วยมาก อาจต้องปรับเป็นการให้ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ ที่บ้าน การจัดตั้งโรงพยาบาลภาคสนาม หรือสถานที่ที่ถูก จัดไว้เป็นการเฉพาะ การขนย้ายผู้ป่วย ควรมีเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการฝึกมาเป็น อย่างดี โดยต้องสวม PPE อย่างถูกต้อง&เคร่งครัด และ ใช้พาหนะที่จัดเป็นการเฉพาะ ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล เช่น การ จัดตั้งคลินิกเฉพาะ/จุดคัดกรอง แยกจากผู้ป่วยทั่ว ๆ ไป หรือการออกเยี่ยมบ้าน (Home visit) เป็นต้น

31 6. การควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล
ติดตามรายละเอียดได้ ในเอกสารคำแนะนำ ของคณะกรรมการทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

32 ระยะเวลาถัดมาของการระบาด
การให้ยาต้านไวรัสป้องกันแบบปูพรม(Wider prophylactic administration of antiviral drugs) การเฝ้าสังเกตอาการของผู้สัมผัส (Quarantine) การลดกิจกรรมทางสังคมเพื่อลดการสัมผัส (Social distancing)

33 มาตรการต่าง ๆ เช่น การแยกโดยความสมัครใจ (Voluntary quarantine)
การลดกิจกรรมทางสังคม (Social distancing) การเตรียมสำรองยาต้านไวรัส การให้ความยินยอมรับยาต้านไวรัส (Antiviral drugs: informed and voluntary consent) โดยเฉพาะเรื่องของข้อห้ามในการใช้ยา ในประชาชนบางกลุ่ม การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ (Reporting of adverse events) อย่างสม่ำเสมอ

34 รายงานตั้งแต่เริ่มเข้าข่ายเฝ้าระวัง/ สงสัย ทันทีในวันนั้น
การรายงาน รายงานตั้งแต่เริ่มเข้าข่ายเฝ้าระวัง/ สงสัย ทันทีในวันนั้น ผู้ป่วย ILI + ประวัติเสี่ยง โรงพยาบาล (วินิจฉัย- แยกรักษา- แจ้ง สสจ) สสจ. (สอบสวนโรค/ ใช้แบบสอบ/ติดตามผู้สัมผัส) สนร. และ สคร. (ประมวลสถานการณ์/ สนับสนุน / ติดตาม) กรมควบคุมโรค (กำหนดมาตรการควบคุม)

35 สรุป ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จะรับมือได้
- Early detection Isolation and hospital infection control Contact tracing ตาข่ายการเฝ้าระวัง (Zero report, Daily report ) ผู้ประสานงาน การรายงานโรค และ การติดตามผู้สัมผัส พันธมิตร (นักระบาด- แพทย์- ห้อง Lab-คนไข้-ผู้บริหาร)

36 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google