งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
เพลงบรรเลง 1 2 3 4 5 6 ตัวสถิติช่วยสอน ตัวสถิติทดสอบ แนะนำการใช้โปรแกรม แบบฝึกหัด จบการทำงาน อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎเชียงใหม่

2 ข้อมูลที่จะนำมาวิเคราะห์ทางสถิติเป็นข้อมูลมาตรวัดใด?
What scale of measurement has been used? มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale) มาตราอันตรภาค (Interval Scale) มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) ขั้นตอนที่ 1

3 ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested?
สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Nominal ขั้นตอนที่ 2

4 ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested?
สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Ordinal ขั้นตอนที่ 2

5 ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested?
สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Interval And Ratio ขั้นตอนที่ 2

6 (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Nominal Difference ขั้นตอนที่ 3

7 (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Ordinal Difference ขั้นตอนที่ 3

8 (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Interval And Ratio Difference ขั้นตอนที่ 3

9 มีข้อมูล 2 กลุ่ม หรือมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 1 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูล 2 กลุ่ม หรือมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (Two or More Measures) Nominal Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

10 (More Than Two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (More Than Two Measures) Ordinal Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

11 มีข้อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป (More than two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป (More than two Measures) มีข้อมูล 1 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูล 2 กลุ่ม (Two Measure) Interval And Ratio Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

12 มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Nominal Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

13 มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Ordinal Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

14 มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Interval And Ratio Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

15 มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures)
ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Interval And Ratio Association ขั้นตอนที่ 3

16 ตัวสถิติทดสอบ กลุ่มข้อมูล Nominal Data (สถิตินอนพาราเมตริก)
Binomail Test Chi Square One-Sample Test Chi Square Test for Two or k Independent Sample Fisher Exact Test McNemar Test Cochran Test Coefficient of Contingency กลุ่มข้อมูล Interval or Ratio Data (สถิติพาราเมตริก) t Test (or Z Test) Independent t Test One-Way ANOVA or F Ratio and Factorial ANOVA Paired t Ratio Pearson r Simple Regression Multiple r Multiple Regression กลุ่มข้อมูล Ordinal Data (สถิตินอนพาราเมตริก) Mann-Whitney Test K-S Two Sample Test Wald-Wolfotwitz Runs Test Median Test (กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม) Kruskal-Wallis Runs Test Median Test (กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม) Wilcoxon Mathched Pair Signed-Ranks Test Sign Test FriedMan Test Spearman Rank Correlation Coeffcient

17 แผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

18 แผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

19 แผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

20 แนะนำการใช้โปรแกรม ขั้นตอนการเลือกใช้ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
1.ท่านต้องทราบลักษณะของข้อมูลก่อนว่าข้อมูลที่ท่านมีอยู่เป็นสเกลการวัดของข้อมูลแบบใด 1. Nominal Scale เช่น เพศ สีของตา 2. Ordinal Scale เช่น การตัดเกรด A , B , C , D 3. Interval Scale เช่น อุณหภูมิ 4. Ratio Scale เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง 2.ท่านต้องทราบเป้าหมายการทดสอบของท่านว่าเป็นแบบใด 1. Hypothesis of Difference เป็นการทดสอบความแตกต่างของกลุ่มข้อมูล 2. Hypothesis of Association เป็นการทดสอบความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล 3.ท่านต้องทราบข้อมูลที่ท่านสุ่มมานั้นเป็นอิสระต่อกันหรือไม่ 1. Independent Selection ข้อมูลที่เลือกหรือสุ่มมานั้นเป็นอิสระต่อกัน 2. Correlated Selection ข้อมูลที่เลือกหรือสุ่มมานั้นไม่เป็นอิสระต่อกัน 4.ท่านต้องทราบมีจำนวนกลุ่มที่จะนำมาทดสอบทางสถิติมีกี่กลุ่ม

21 แนะนำการใช้โปรแกรม มาตรวัดของข้อมูล
1. Nominal Scale เป็นมาตรการวัดขั้นพื้นฐาน โดยแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ ที่ เพียงแต่จัดประเภท โดยยังไม่มีการจัดลำดับจึงเป็นการกำหนดชื่อให้กับวัตถุสิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านคุณภาพ แต่ยังไม่มีความหมาย เกี่ยวกับลำดับทางด้านปริมาณ หลักการที่ใช้คือจัดสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในพวกเดียวกัน หรือมีลักษณะเหมือนกันให้มีคุณภาพเทียบเท่ากันโดยมีสัญลักษณ์ที่ไม่ซ้ำกัน เช่นให้ตัวเลข 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง ซึ่งสถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ส่วนมากก็จะเป็นร้อยละ ความถี่ 2. Ordinal Scale เป็นมาตรการวัดที่ใช้กับข้อมูลที่สามารถจัดเรียงอันดับของข้อมูลให้ลดหลั่นกันเป็นขั้นๆ ตามปริมาณ และคุณภาพมากน้อยแต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่าแต่ละขั้นห่างกันเท่าไร และทุกๆ ขั้นเท่ากันหรือไม่ เพราะฉะนั้นเป็นการวัดที่แสดงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ โดยคำนึงถึงการจัดประเภทและจัดลำดับหรือตำแหน่งโดยบอกทิศทางของความแตกต่างว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า เช่น การตัดเกรด A , B , C , D , F สถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ก็ยัง เป็นร้อยละ ความถี่ หรืออาจจะเป็นสถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์

22 แนะนำการใช้โปรแกรม 3. Interval Scale เป็นมาตรการวัดที่มีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราเรียงลำดับ แต่มาตรการจัดแบบนี้ สามารถบอกความแตกต่างของข้อมูลหรือระยะห่างของข้อมูลได้เป็นช่วงๆ เช่น มาตราการวัดอุณหภูมิเป็น 100 องศาเซนเซียส ซึ่งก็คือ 100 ช่วงที่เท่าๆ กัน แต่ตัวเลข 0 ในมาตราการวัดแบบนี้ไม่เป็นศูนย์จริง แต่เป็นศูนย์สัมพันธ์ ค่าที่ได้จากการวัดในมาตรานี้จึงนำมาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ แต่ไม่สามารถเทียบเป็นสัดส่วน หรือจำนวนเท่าต่อกันได้ เช่น การสอบได้คะแนน 0 ไม่ได้หมายความว่า ไม่มีความรู้เลย สถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ นอกจากเป็นสถิติพรรณาแล้ว ยังสามารถใช้สถิติเชิงอนุมาน มาวิเคราะห์ข้อมูลได้ 4. Ratio Scale เป็นมาตรการวัดทีสมบูรณ์ที่สุด โดยมีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราอันตรภาคแต่ตัวเลขศูนย์ในมาตรการวัดแบบนี้เป็นศูนย์ที่แท้เจริง โดยถ้าวัดเป็นจำนวนเท่าของข้อมูลก็จะเป็นจริง เช่น น้ำหนัก 0 กิโลกรัม แสดงว่าไม่มีน้ำหนักเลย สถิติที่จะนำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่มีมาตรการวัดแบบนี้สามารถใช้ได้ทั้งสถิติที่ใช้พารามิเตอร์ และสถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์

23 แนะนำการใช้โปรแกรม การทดสอบ 1. Hypothesis of Difference
เป็นการสนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการในประชากร เช่น ในกรณีที่ข้อมูลเป็นแบบ Ratio Scale และอยากทราบว่า ผลต่างระหว่างรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนในเขตเมืองและในเขตชนบทแตกต่างกันหรือไม่ 2. Hypothesis of Association เป็นการสนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการในประชากร เช่น ในกรณีที่ข้อมูลเป็นแบบ Ratio Scale และอยากทราบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักกับความสูงของประชากรหรือไม่ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร

24 แนะนำการใช้โปรแกรม การทดสอบ
1. Independent Selection กลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมามีความเป็นอิสระกัน เช่น คะแนนสอบวิชาสถิติของนักศึกษาเพศชาย กับเพศหญิง 2. Correlated Selection กลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาไม่เป็นอิสระกันหรือมีความสัมพันธ์กัน เช่น คะแนนสอบวิชาสถิติของนักศึกษา ก่อนการอบรมในตอนเช้า และหลังการอบรมในตอนบ่าย

25 คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
หน้า Menu ออกจากโปรแกรม อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎเชียงใหม่


ดาวน์โหลด ppt คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google