ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEirik Enger ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด: ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ค่าเป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 6
2
Governance Excellence Key Activity กิจกรรมหลัก
แผนงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ โครงการ บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง Governance Excellence Target /KPI No. Target : โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง (รพศ. รพท. รพช.) KPI : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 6 Situation/Baseline หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย รพศ. รพท. รพช. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและขยายเป้าหมาย การดำเนินงาน การร่วมบริหารผ่านคณะกรรมการร่วมระดับประเทศ (7*7) พัฒนาการบริหารระบบบัญชีให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพ ภาคีเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อลดอัตราหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ด้วยการขับเคลื่อน 5 มาตรการ Strategy มาตรการ Strategy 1 การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) Strategy 2 ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) Strategy 3 สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) Strategy 4 พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) Strategy 5 พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building) 1.1 มีการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 1.2 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ 1.3 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ 2.1 ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ 2.3 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน 3.1 เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย จากการดำเนินงาน 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน 4.1 พัฒนาระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 4.2 พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชี 4.3 พัฒนาระบบงานสารสนเทศด้านการเงินการคลังสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS) 4.4 พัฒนาการนำข้อมูลการเงินหน่วยบริการเข้าระบบ GFMIS 5.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการเงิน (CFO) 5.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบบัญชี (Auditor) Key Activity กิจกรรมหลัก Small Success Small success ไตรมาส 1 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100 Small success ไตรมาส 2 หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 6 Small success ไตรมาส 3 Small success ไตรมาส 4
3
Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 1
KPI 1 การจัดสรร มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 1.1 มีการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 1.2 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ 1.3 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.1 ร้อยละของหน่วยบริการ มีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 - Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 1 ตัวชี้วัด: 1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน 3 เดือน = ร้อยละ 93.75 6 เดือน = ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง หน่วยบริการเป้าหมายในการจัดสรร Basic package กองทุน UC ปี 2561 จำนวน 216 แห่ง
4
Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 1
PI มาตรการการจัดสรร มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation) 1.1 มีการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย 1.2 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ 1.3 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.1 ร้อยละของหน่วยบริการ ที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน กลุ่มเป้าหมายระดับประเทศ มีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 1 ตัวชี้วัด: 1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน 3 เดือน = ร้อยละ 93.75 6 เดือน = ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ 1.2 กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง หน่วยบริการเป้าหมายในการจัดสรร Basic package กองทุน UC ปี 2561 จำนวน 216 แห่ง
5
KPI การติดตามแผนการเงิน
มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ 2.3 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 2 ตัวชี้วัด: 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ - 3 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 - 6 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 - 9 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 2.2 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) - 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 9 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 12 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน - **ปี ๒๕๖๑ จึงปรับตัวชี้วัดเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (ทุกไตรมาส) เกณฑ์คุณภาพ คือ ทำครบทุกแผน และแผนต้องไม่มีความเสี่ยงสูง (แบบที่ 8)
6
PI การติดตามแผนการเงิน
มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) 2.1 ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงินที่มีคุณภาพ 2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ 2.3 ควบคุมกำกับโดยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีแผน ทางการเงิน (Planfin) ที่มี คุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 97 - ร้อยละ 100 2.2 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้สูงกว่า หรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 2.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของค่าใช้จ่าย ไม่เกินร้อยละ 5 (ค่าใช้จ่ายสูง กว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกิน ร้อยละ 5) Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 2 ตัวชี้วัด: 2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ - 3 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 - 6 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 - 9 เดือน = ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 100 2.2 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) - 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 9 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 12 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ผลการดำเนินงาน - **ปี ๒๕๖๑ จึงปรับตัวชี้วัดเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (ทุกไตรมาส) เกณฑ์คุณภาพ คือ ทำครบทุกแผน และแผนต้องไม่มีความเสี่ยงสูง (แบบที่ 8)
7
KPI ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย จากการดำเนินงาน - ประเมิน/ควบคุมสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ (ยา เวชภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ค่าตอบแทน) เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับเดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR) - ประเมินรายได้ค่ารักษาพยาบาลทุกประเภทสิทธิ เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับ เดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR) 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน - พัฒนาและใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน - ประเมิน/ควบคุมประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง - ประเมินและควบคุมประสิทธิภาพการบริหารเจ้าหนี้ ลูกหนี้ สินค้าคงคลัง และ ค่าตอบแทนค้างจ่าย ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จาก เกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 3 ตัวชี้วัด: 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่ามัธยฐาน+1SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน (20 กลุ่ม) - 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 88.62 - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 86.16 - 9 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 12 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน - 3.2 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ C) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว - 3 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 65.96 - 6 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 66.63 - 9 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 12 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน - 3.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 - 3 เดือน = หน่วยบริการมีและใช้เกณฑ์การประเมิน FAI ทุกแห่ง ผลการดำเนินงาน หน่วยบริการมีและใช้เกณฑ์การประเมิน FAI ทุกแห่ง และหน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 ร้อยละ 20.65 - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 9 เดือน = ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 12 เดือน = ร้อยละ 75 ผลการดำเนินงาน -
8
PI ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management) 3.1 เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย จากการดำเนินงาน - ประเมิน/ควบคุมสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ (ยา เวชภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ค่าตอบแทน) เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับเดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR) - ประเมินรายได้ค่ารักษาพยาบาลทุกประเภทสิทธิ เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับ เดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR) 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน - พัฒนาและใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน - ประเมิน/ควบคุมประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง - ประเมินและควบคุมประสิทธิภาพการบริหารเจ้าหนี้ ลูกหนี้ สินค้าคงคลัง และ ค่าตอบแทนค้างจ่าย ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีสัดส่วน ของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่าเฉลี่ย SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน (20 กลุ่ม) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3.2 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จาก เกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 3 ตัวชี้วัด: 3.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่ามัธยฐาน+1SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน (20 กลุ่ม) - 3 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 88.62 - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 86.16 - 9 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ - 12 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน - 3.2 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ C) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว - 3 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 65.96 - 6 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 66.63 - 9 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 12 เดือน = ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงาน - 3.3 ร้อยละของหน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 - 3 เดือน = หน่วยบริการมีและใช้เกณฑ์การประเมิน FAI ทุกแห่ง ผลการดำเนินงาน หน่วยบริการมีและใช้เกณฑ์การประเมิน FAI ทุกแห่ง และหน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 ร้อยละ 20.65 - 6 เดือน = ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 9 เดือน = ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - 12 เดือน = ร้อยละ 75 ผลการดำเนินงาน -
9
Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 4
KPI บัญชี GFMIS มาตรการ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 พัฒนาระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 4.2 พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชี 4.3 พัฒนาระบบงานสารสนเทศด้านการเงินการคลังสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS) 4.4 พัฒนาการนำข้อมูลการเงินหน่วยบริการเข้าระบบ GFMIS ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) ร้อยละ 90 ร้อยละ 70 (ผู้ตรวจสอบบัญชี) 4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ร้อยละ 30 ร้อยละ 45 ร้อยละ 60 ร้อยละ 75 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 4 ตัวชี้วัด: 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีคะแนนคุณภาพบัญชี ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา (ตรวจสอบบัญชีด้วยวิธีอิเลคทรอนิกส์) - 3 เดือน = ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 76.90 - 6 เดือน = ร้อยละ 75 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 85.94 - 9 เดือน = ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 87.72 - 12 เดือน = ร้อยละ 85 ผลการดำเนินงาน -
10
ประชุมชี้แจงหน่วยบริการ
PI บัญชี GFMIS มาตรการ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) 4.1 พัฒนาระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน 4.2 พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชี 4.3 พัฒนาระบบงานสารสนเทศด้านการเงินการคลังสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS) 4.4 พัฒนาการนำข้อมูลการเงินหน่วยบริการเข้าระบบ GFMIS ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพ บัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 85 (อิเล็กทรอนิกส์) ร้อยละ 90 ร้อยละ 70 (ผู้ตรวจสอบบัญชี) 4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นหน่วย เบิกจ่ายมีบัญชีเงินสด เงินฝาก ธนาคารถูกต้องในระบบ GFMIS ประชุมชี้แจงหน่วยบริการ ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 4.3 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์ ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ เข้าระบบ GFMIS ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ร้อยละ 75 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 4 ตัวชี้วัด: 4.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีคะแนนคุณภาพบัญชี ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา (ตรวจสอบบัญชีด้วยวิธีอิเลคทรอนิกส์) - 3 เดือน = ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 76.90 - 6 เดือน = ร้อยละ 75 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 85.94 - 9 เดือน = ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 87.72 - 12 เดือน = ร้อยละ 85 ผลการดำเนินงาน -
11
Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 5
KPI พัฒนาศักยภาพ CFO มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building) 5.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการเงิน (CFO) 5.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบบัญชี (Auditor) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแผนการอบรม มีหลักสูตรการอบรม มีการอบรม ตามหลักสูตร ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลังที่ได้รับการอบรมตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 5 ตัวชี้วัด: 5.1 จำนวนเครือข่ายการเงินการคลัง ทุกระดับ - 3 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 12 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน - 5.2 ร้อยละของ CFO ทุกระดับ ผ่านการอบรมตามหลักสูตร - 3 เดือน = มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนาCFO ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนาCFO ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีการอบรม CFO ตามหลักสูตร ผลการดำเนินงาน - 12 เดือน = ร้อยละของ CFO ระดับเขต ผ่านการอบรมตามหลักสูตร ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน - 5.3 ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Accounting Audit) ผ่านการอบรมตามหลักสูตร - 3 เดือน = มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนา Accounting Audit ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนา Accounting Audit ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีการอบรม Accounting Audit ตามหลักสูตร ผลการดำเนินงาน - 12 เดือน = ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Accounting Audit) ผ่านการอบรมตามหลักสูตร ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน -
12
Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 5
PI พัฒนาศักยภาพ CFO มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building) 5.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการเงิน (CFO) 5.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบบัญชี (Auditor) ตัวชี้วัด Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.1 ร้อยละของผู้บริหารทางการเงิน (CFO) ที่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพ มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนา CFO มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนาCFO มีการอบรม CFO ตามหลักสูตร ร้อยละของ CFO ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 80 5.1 ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Auditor) ที่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพ มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนาAuditor มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนาAuditor มีการอบรม Auditorตามหลักสูตร ร้อยละของ Auditor ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 80 Baseline data รอบ 9 เดือน (ต.ค. – มิ.ย. 60) มาตรการที่ 5 ตัวชี้วัด: 5.1 จำนวนเครือข่ายการเงินการคลัง ทุกระดับ - 3 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน มี - 12 เดือน = มีเครือข่ายการเงินการคลังครบทุกระดับ ผลการดำเนินงาน - 5.2 ร้อยละของ CFO ทุกระดับ ผ่านการอบรมตามหลักสูตร - 3 เดือน = มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนาCFO ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนาCFO ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีการอบรม CFO ตามหลักสูตร ผลการดำเนินงาน - 12 เดือน = ร้อยละของ CFO ระดับเขต ผ่านการอบรมตามหลักสูตร ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน - 5.3 ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Accounting Audit) ผ่านการอบรมตามหลักสูตร - 3 เดือน = มีแผนการอบรมหลักสูตรพัฒนา Accounting Audit ผลการดำเนินงาน มี - 6 เดือน = มีหลักสูตรการอบรมหลักสูตรพัฒนา Accounting Audit ผลการดำเนินงาน มี - 9 เดือน = มีการอบรม Accounting Audit ตามหลักสูตร ผลการดำเนินงาน - 12 เดือน = ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Accounting Audit) ผ่านการอบรมตามหลักสูตร ร้อยละ 80 ผลการดำเนินงาน -
13
Governance Excellence
ตัวชี้วัด ร้อยละหน่วยบริการ ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 พ.ศ. รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 2561 หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100 ไม่เกินร้อยละ 6 2562 ไม่เกินร้อยละ 4 2563 ไม่เกินร้อยละ 2 2564 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 2 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 4 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 8 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 6
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.