งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล นายณัฐวุฒิ แก้วสวัสดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล นายณัฐวุฒิ แก้วสวัสดิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล นายณัฐวุฒิ แก้วสวัสดิ์
วิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล นายณัฐวุฒิ แก้วสวัสดิ์

2 งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล การอ่านและการเขียนแบบ
หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /4 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 หน่วยที่ 1 การอ่านและการเขียนแบบ สลักเกลียวและแหวน

3 งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล
หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /5 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการ อ่านแบบ เขียนแบบชิ้นส่วนมาตรฐานเครื่องกล การเขียนภาพประกอบ และแบบสั่งงาน

4 การอ่านและการเขียนแบบสลักเกลียวและแหวน
หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /6 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 ทฤษฎีที่ แบบเกลียวนอต ขนาดโคนเกลียว ใช้เส้นบาง 0.25 มม. แนวสุดเกลียวอยู่เลยความยาวเกลียว เป็นบ่าสัมผัสของลำตัวสกรู แสดงเกลียวด้วยเส้นบาง 0.25 มม. เป็นเส้น 3 ใน 4 ของเส้นรอบวง 1.2 แบบแหวน

5 การอ่านและการเขียนแบบสลักเกลียวและแหวน
หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /7 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1.3 แบบเกลียวในและเกลียวฝัง ภาพตัดเต็ม แสดงเกลียวที่เห็นรูเกลียว รูเกลียวที่ถูกบัง ระยะผายปากรูเกลียว ไม่ต้องกำหนดขนาด รูเกลียวฝังมองไม่เห็น รูเกลียวฝังตัดเต็ม

6 การอ่านและการเขียนแบบสลักเกลียวและแหวน
หนังสือหน้า หมายเลข 2/ /8 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1.4 แบบสกรูหัว 6 เหลี่ยม

7 การอ่านและการเขียนแบบสลักเกลียวและแหวน
หนังสือหน้า หมายเลข 2/ /9 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1.5 แบบนอต 6 เหลี่ยม

8 แบบประเมินผลที่ 1 หนังสือหน้า หมายเลข 3/ /10 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1. แบบจับยึดด้วยสกรู จะใส่แหวนหรือไม่ใส่แหวนรองหัวสกูก็ตาม เกลียวสกรูต้องไม่ ………... …………………………….. 2. สตัต นอต แหวนรองหรือแหวนล็อก จะไม่แสดง …………………………………

9 แบบประเมินผลที่ 1 หนังสือหน้า หมายเลข 3/ /11 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 3. ขนาดรัศมีลบมุม (e) ของ 6 เหลี่ยม แสดงที่ …………………………. ด้านสวมประแจปากตาย หรือเรียกว่าขนาดปากประแจ (s) แสดงที่ภาพ ………….. รัศมีลบมุมต่าง ๆ แสดงเพียง …………………………...

10 แบบประเมินผลที่ 1 หนังสือหน้า หมายเลข 3/ /12 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 4. สำหรับการเขียนแบบสกรูและนอตอย่างง่าย ไม่ต้องแสดง ……….. และ ……………... 5. การเขียนแบบการจับยึดด้วยสกรูและนอตอย่างง่ายดังภาพขวามือ ไม่ต้อง ……….. แสดงเพียงเส้น …………………………..

11 แบบประเมินผลที่ 1.1 หนังสือหน้า หมายเลข 4/ /13 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 จงเขียนแบบงานกลึงขนาด มม. เป็นภาพตัดเฉพาะส่วน ด้านใหญ่เจาะรูตัดเกลียว M20 x 30 มม. ลบปากรู 2 x45o รูลึก 40 มม. ด้านเล็กตัดเกลียวนอก M16 x 25 มม. ลบมุม 2 x 45o

12 แบบประเมินผลที่ 1.2 หนังสือหน้า หมายเลข 4/ /14 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1. จงเขียนแบบชิ้นงานตัดเกลียวฝัง M14 x 25 มม. เป็นภาพตัดเต็มรูเจาะลึก 30 มม. พร้อมกำหนดขนาด 2. เจาะรูตัดเกลียวทะลุ M12 เป็นภาพตัดเต็ม พร้อมกำหนดขนาด 3. เจาะรูตัดเกลียวทะลุ M16 มองไม่เห็นเกลียว ไม่ต้องกำหนดขนาด 4. เจาะรูตัดเกลียวทะลุ M16 x 20 มม รูเล็ก 30 มม. ภาพไม่ตัดและไม่ต้องกำหนดขนาด

13 1. จงเขียนแบบงานประกอบชิ้นงาน 1-4 ด้วย
แบบประเมินผลที่ 1.3 หนังสือหน้า หมายเลข /15 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 1. จงเขียนแบบงานประกอบชิ้นงาน 1-4 ด้วย สตัต โดยไม่ต้องกำหนดขนาด 2. จงเขียนแบบงานประกอบท่อ 1 และ 2 ด้วย เกลียว โดยไม่ต้องกำหนดขนาด

14 แบบประเมินผลที่ 1.4 หนังสือหน้า หมายเลข /16 หนังสือหน้า หมายเลข 1/ /1 จงเขียนแบบภาพด้านบนสกรู M36 x ใช้ e = 65 มม. ที่ภาพด้านหน้าเขียนหัวสกรูสูง 25 มม. นอตสูง 30 มม. เขียนภาพด้านข้างด้วยเส้น ฉายภาพ

15 การอ่านและการเขียนแบบ
จบหน่วยที่ 1 การอ่านและการเขียนแบบ สลักเกลียวและแหวน


ดาวน์โหลด ppt งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล นายณัฐวุฒิ แก้วสวัสดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google