งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในทางเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เนื่องจากกลไกตลาดไม่สามารถทำงานได้ การมีลักษณะเป็นสินค้าสาธารณะ (public goods) การเกิดผลกระทบภายนอกหรือผลกระทบข้างเคียง (externality) การมีลักษณะเป็นทรัพย์สินร่วม (common property)

2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
จัดแบ่งตามการเสริมสร้างสภาพของทรัพยากรต้นทุนและการทำงานของกลไกตลาด Exhaustible marketed resource แร่ธาตุ Renewable marketed resource ปลาทะเล Renewable non-marketed resource ทิวทัศน์ Potentially non-renewable resource น้ำใต้ดิน

3 ใช้แล้วหมดสภาพไป ต้องพิจารณาว่าจะนำทรัพยากรมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร

4 ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้
นำทรัพยากรขึ้นมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร คำนึงถึงการมีใช้ในอนาคตด้วย

5 เกิดใหม่ได้ แต่ไม่มีราคาปรากฏ
ต้องหามูลค่าเพิ่ม ทั้งทางตรงทางอ้อม การนำมาใช้โดยมีการจัดการไม่ดี จะเพิ่มต้นทุนภายนอกกับสังคม

6 สิ่งแวดล้อมกับระบบเศรษฐกิจ
เป็นสินค้าเพื่อบริโภค เช่น อากาศไว้หายใจ น้ำเพื่อดื่ม เป็นแหล่งจัดหาทรัพยากร เช่น ที่ดิน น้ำ เป็นที่รองรับของเสีย เช่น แหล่งน้ำ ดินไว้ฝังกลบขยะ เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน

7 วีดิทัศน์ 10 ดูให้รู้ โตเกียว ทำนาในตึก การเพาะปลูกพืชในอาคาร
หลักเศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ ความสะดวก ปลอดภัย youtube.com/watch?v=3rCzEGh0Uxk

8 นโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ ) กำหนดนโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไว้ในส่วนที่ 3 (ยุทธศาสตร์การพัฒนา) บทที่ 8

9 บทที่ 8 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง พื้นที่ป่าไม้ยังคงถูกบุกรุกทำลาย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรม ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ขัดแย้งการใช้ที่ดิน ปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุทกภัย ความต้องการใช้แร่และพลังงานเพิ่มขึ้น

10 มลพิษทางอากาศ น้ำและขยะมูลฝอย การใช้สารเคมีภาคเกษตร อุตสาหกรรม
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

11 2. การประเมินความเสี่ยง
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้น สูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง ไม่มั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ภัยพิบัติธรรมชาติ การผลิตและการบริโภคที่ฟุ่มเฟือย ขาดจิตสำนึกสาธารณะ เทคโนโลยีการผลิตที่ประสิทธิภาพต่ำ การปลูกพืชเชิงเดี่ยว

12 ความขัดแย้งเชิงนโยบายของการบริหารจัดการภาครัฐ ขาดองค์ความรู้และฐานข้อมูลที่ทันสมัย

13 วัตถุประสงค์ - เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - เพื่อขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นสังคมคาร์บอนต่ำ - เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ

14 เป้าหมาย - รักษาพื้นที่อนุรักษ์ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 19.0 เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ร้อยละ 40.0 และเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนไม่น้อยกว่าปีละ 5,000 ไร่ - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ เพิ่มพื้นที่ชลประทานปีละ 200,000 ไร่ - ฟื้นฟูคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเฉพาะอ่าวไทยตอนใน - การจัดการขยะชุมชนถูกหลักสุขาภิบาล - เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเกื้อกูลกัน

15 ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ดูได้ที่ สอนเฉพาะหน้า 4, 8, 29 และ 104 ของ PDF

16 วีดิทัศน์ 11 รายการศึกษาทัศน์ ตามเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรกิจการฝนหลวงyoutu.be/ffAntvZXb3g


ดาวน์โหลด ppt หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google