ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยศุภรัตน์ สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
คณะที่ ๑ รอบที่ ๑ จังหวัดกาฬสินธุ์ 23 ก.พ.2560 การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
2
แนวทางและมาตรการ P&P Excellence
4
KPI 1 : MMR ≤ 20 /100,000 Lived Birth
5
KPI 1 : MMR ≤ 20 /100,000 Lived Birth Input Activities Small Success
Input Activities Small Success Partnership MCHB จังหวัด/อำเภอ ร่วมกับ service plan ประชุมร่วมกัน สูติแพทย์-อายุรแพทย์ Investment จัดหา/จัดทำถุงตวงเลือด เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดทุก รพ. (169,420) Regulatory ประเมินมาตรฐาน อนามัยแม่และเด็ก Advocacy Near Miss Conf. ZONING HIGH RISK CLINIC เฝ้าระวังการตกเลือดขณะและหลังคลอด Building Capacity พัฒนาการดูแลครรภ์เสี่ยงสูงให้ผู้รับผิดชอบ ทุก รพ.(LR) มีแผนนิเทศทุก รพ. ของ MCH B. OFI ข้อเสนอแนะ วิเคราะห์ รพ.ที่มีความเสี่ยงสูงด้านระบบ อุปกรณ์และคน ระบบข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ Coachingการป้องกันแม่ตาย Identify ปัญหาข้อมูลแม่และเด็กและวางมาตรการร่วมกับ IT
6
KPI 2 : เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ≥ 85%
เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ทุกคนได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า ≥20% เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนที่พบผลการตรวจคัดกรองสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ ≥90%
7
KPI 2 : เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย ≥ 80%
เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ทุกคนได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบสงสัยล่าช้า ≥20% เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนที่พบผลการตรวจคัดกรองสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ ≥90% Input Activities Small Success Partnership MCHB-SP จังหวัด/ อำเภอ อนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับ จังหวัด ขับเคลื่อน DHS สร้างการมีส่วนร่วม Investment มีนโยบายและจัดหา คู่มือครอบคลุม ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ยังไม่ครอบคลุม (65,000 บาท) Regulatory ประเมินมาตรฐาน WCC ชุดสิทธิประโยชน์ Advocacy มีแผนสื่อสารถ่ายทอดเรื่องระบบการบันทึกข้อมูล การสื่อสารกับชุมชนเรื่องพัฒนาการ Building Capacity อบรมนักส่งเสริมพัฒนาการ /ครูพี่เลี้ยง /มิสนมแม่ /รร.พ่อแม่ -ความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามกลุ่มอายุ % -ตรวจครั้งแรกพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า % สมวัย % -ติดตามตรวจซ้ำหลังกระตุ้นพัฒนาการ 30 วัน % -รวมเด็กพัฒนาการสมวัยทั้งก่อนและหลังกระตุ้นพัฒนาการ % OFI ข้อเสนอแนะ Coverage ของการตรวจคัดกรอง & ติดตามกลุ่มสงสัยล่าช้า/ล่าช้าต่ำ . ผู้สูงอายุเลี้ยงหลานจำนวนสูงมาก Identify ปัญหาและเร่งรัดชี้แจง ทำความเข้าใจเรื่องการบันทึกข้อมูล ทุก รพ.สต. การส่งออกข้อมูลทุกอำเภอ CPM จังหวัด อำเภอกำกับติดตามประมวลผลคัดกรองทุกเดือน ทำศูนย์เรียนรู้การเฝ้าระวัง/กระตุ้นพัฒนาการในชุมชน ระบบส่งต่อ/ติดตามเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าและเด็กพัฒนาการล่าช้าให้ครอบคลุม
8
KPI 3 : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน (51 %)
9
KPI 3 : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน (51 %)
Input Activities Small Success Partnership MCH B จังหวัด อำเภอ อนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด Investment ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก Regulatory มาตรการหมู่บ้านไอโอดีน Advocacy ขับเคลื่อนตำบลนมแม่ Building Capacity พัฒนา ครูก เรื่องสุขภาพช่องปาก ภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย มีแผนอบรมครู ข สิ้น มี.ค. 2560 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน % สูงเฉลี่ย (ช 113 ญ 112) เด็กชาย cm เด็กหญิง cm นวตกรรม ไม้ T ชี้ความยาว (ยางตลาด) OFI ข้อเสนอแนะ ไม่วิเคราะห์ข้อมูล เด็กผอม เตี้ย อ้วน ทำแผนรองรับ พรบ. Code นม บูรณาการขับเคลื่อนกับแผนงานปกติให้ได้มาตรฐานทั้งการบริการและเครื่องมืออุปกรณ์ รณรงค์ ไข่ โดด นม นอน สอนเด็กแปรงฟัน
10
KPI 4 : เด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน (66%)
11
KPI 4 : เด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน (66%)
Input Activities Small Success Partnership: คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเด็ก วัยเรียนเชิงบูรณาการ Investment: โครงการพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการ เด็กกาฬสินธุ์เก่งฉลาด สายตาดี สูงดีสมส่วน ฟันดีไม่มีผุ” งบสปสช. =271,000 บาท งบสสจ. =162,080 บาท รวม 433,080 บาท Regulatory: -ตำบลจัดการสุขภาพ -มีแผนงาน/โครงการ ควบคุมกำกับชัดเจน Advacacy: -รณรงค์วันเด็กแห่งชาติ “ไข่ โดด ฟัน นม นอน” -ประชุมคณะกรรมการวัยเรียน/คณะกรรมการต่างๆ/การประชุมจนท.สธ./ครู -สื่อป้ายไวนิล/web สสจ./web สพป./สพม. Building Capacity: -พัฒนาศักยภาพ PM ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ค่ากลางที่คาดหวังสู่แผนอำเภอ -พัฒนาความรู้ทักษะจนท.สธ.การเฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพ ร.ร.ส่งเสริมฯ -เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน 64.89% (ความครอบคลุม 39.78) -เริ่มอ้วนและอ้วน 6.18% -ผอม 3.99% -เตี้ย 12.72% -ส่วนสูงเฉลี่ย เด็ก 12 ปี หญิง ซม.ชาย ซม. Best practice: -ร.ร. 3 ดี -ร.ร.เอกปัญญา อ.สมเด็จ (ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรระดับประเทศ) OFI ข้อเสนอแนะ -ระบบการคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง และการส่งต่อเข้าคลินิก DPAC ไม่ชัดเจน ไม่มีระบบรายงานการคัดกรองส่งต่อ -เด็กเตี้ย 12.72% (อ.นามน สมเด็จ กมลาไสย สามชัย (15-23%) - มี Flow chart ส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง -พัฒนาจนท.คลินิก DPAC เพื่อให้บริการเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง -เพิ่มกิจกรรมแก้ไขปัญหาเด็กเตี้ยระดับจังหวัด/อำเภอ
16
KPI 5 : เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ (≥ 52%)
Input Activities Small Success Partnership คณะกรรมการพัฒนางานทันตสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ Regulatory ชุดสิทธิประโยชน์การรับบริการในเด็ก เด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 38.82 เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 69.67 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลเกิน 5% ร้อยละ 53.78 Advocacy สนับสนุนกิจกรรมโรงเรียนเด็กไทยฟันดี Investment บาง CUP ไม่มีงบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่ Building Capacity สนับสนุน การพัฒนาด้านวิชาการให้ทันตบุคลากร จัดทำมาตรฐานแนวทางการดูแลรักษาทันตกรรมในเด็กและการส่งต่อของจังหวัด OFI ข้อเสนอแนะ - ขาดทันตาภิบาล (ห้วยผึ้ง)และทันตแพทย์เฉพาะทาง - บุคลากรมีน้อยและขาดแรงจูงใจในการทำงาน - ขาดทันตแพทย์ที่ สสจ. ทันตาภิบาลมีน้อย ภาระงานมาก การเติบโตในสายวิชาชีพน้อย ควรให้การสนับสนุนทันตาภิบาลที่จบปริญญาตรีด้านสาธารณสุข ให้ได้รับค่าตอบแทน ตามเกณฑ์ที่สามารถทำได้ ควรมีนโยบายให้ทันตาภิบาลที่เปลี่ยนสายงานเป็น นวก.สาธารณสุขรับผิดชอบงานทันตสาธารณสุขร่วมด้วย
17
KPI 6 : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุ<15 ปี (≤5/แสนประชากร)
Input Activities Small Success MOU : สาธารณสุข ศึกษา ท้องถิ่น ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาล และชุมชน อปท. : สนับสนุนงบประมาณ, บุคลากร SRRT : สอบสวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำ, สร้างครู ก. และทีมผู้ก่อการดี , สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชี้แจงเกณฑ์ “ทีมผู้ก่อการดี ป้องกันการจมน้ำ” สร้างทีม Merit Maker ผ่านการประเมินและยกระดับทีมเป็นระดับทอง 4 ทีม จัดระบบเฝ้าระวัง SAT ทีม SRRT (สอบสวน) ระดับอำเภอ ตำบล - ก่อตั้งทีมผู้ก่อการดี (ใหม่) 2 ทีม ต่ออำเภอ = 36 ทีม (เป้าสำหรับพื้นที่สีเขียว = จังหวัดละ 1 ทีม) - มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง การสอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดแก่เด็ก - ไตรมาส 1 ไม่มีเด็กเสียชีวิต (เป้าหมาย ปี 60 ตายไม่เกิน 9 ราย) OFI ข้อเสนอแนะ การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยและพื้นที่เสี่ยง ยังไม่ครอบคลุม 2. ทีม SRRT บางทีมยังขาดประสบการณ์ในการสอบสวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ำ จัดการพื้นที่เสี่ยง และ Mapping ครอบคลุมแหล่งน้ำเสี่ยงทุกอำเภอ >> คืนข้อมูลให้พื้นที่ >> สื่อสารความเสี่ยงสร้างความตระหนักผู้ปกครองโดยผ่านสธ. และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2. พัฒนาขีดความสามารถให้กับทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ในการสอบสวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ำ
18
KPI 7 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (≤42/พันประชากร)
Input Activities Small Success Partnership : กาฬสินธุ์ 3 ดี+ ร.ร 3 ดี 5 กระทรวงหลัก ขับเคลื่อนผ่าน -DHS + ตำบลจัดการสุขภาพ -TO BE NUMBER ONE - อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ และคลินิกวัยรุ่น -สภาเด็กและเยาวชน/NGO OSCC/OHOS Investment -งบ พมจ. อปท. สสส. Regulatory -แต่งตั้งอนุกรรมการป้องกันและแก้ปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (พรบ.วัยรุ่น) -คก.พัฒนาระบบป้องกันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด แสดงกราฟแนวโน้ม อัตราคลอด และ ตั้งครรภ์ซ้ำ ใน 3 ปี Advocacy : ถ่ายทอดผ่าน DHS + ตำบลจัดการสุขภาพ ใช้ สื่อ line, FB, TELสายด่วน Building Capacity Teen manager จังหวัด/อำเภอ วิทยากรระดับจังหวัด+ทีมYFHS โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ 1.ระบบข้อมูล 2.การเข้าถึงบริการ 3.พื้นที่ตั้งครรภ์ซ้ำสูง -ประชุมMCH board ในอำเภอที่ตั้งครรภ์ซ้ำสูง เพื่อหาแนวทางแก้ไข -การรายงานข้อมูล ให้ถูกต้อง ครบถ้วน
19
KPI 9 : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (≤18/แสนประชากร)
Input Activities Small Success - กลยุทธ์ 5 ส. (สหสาขาวิชาชีพ ส่วนร่วม สุดคุ้ม สารสนเทศ สุดเสี่ยง) - ด่านชุมชน ตามลัก 3 ต. - ศปถ.จังหวัด อำเภอ อปท. - บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน -SAT/EOC-RTI จังหวัด - ศูนย์ EMS ที่ สสจ. -ทีม SRRT (สอบสวน) ระดับจังหวัดและอำเภอ - การขับเคลื่อน DHS-RTI 18 อำเภอ - ด่านชุมชน (เทศกาล) ทุกตำบล การบังคับใช้ พรบ.แอลกอฮอล์ - Quick Win เป้า 96 ราย (base line ปี 53-55) - ผลไตรมาส 1 = 69 ราย(7 ต่อ ปช.แสนคน) : มีแนวโน้มเกินเป้า - มีแผนปฏิบัติการ SAT / EOC-RTI - TEA Unit คุณภาพ OFI ข้อเสนอแนะ 1. ขาดความเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูล IS และ 43 แฟ้มในระดับอำเภอ 2. ศปถ.อำเภอบางพื้นที่ยังไม่เข้มแข็ง 3. ความเข้มแข็งของด่านชุมชน ความครอบคลุมของจำนวนด่านฯ และการบังคับใช้ พรบ.แอลกอฮอล์ในชุมชน 4. จำนวนอุบัติเหตุและผู้เสียชีวิตในเขตเมืองมีแนวโน้มสูงขึ้น 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล IS และ 43 แฟ้มในระดับอำเภอให้มีความเชื่อมโยงกันและสามารถส่งออกรายงานได้ 2. สสอ./รพท. แสดงบทบาทร่วมเพิ่มขึ้น 3. ประเมินผลการบาดเจ็บและเสียชีวิต ช่วงเทศกาล เน้นนโยบาย DHS-RTI >> ด่านชุมชนตามหลัก 3 ต. (เตรียม ตั้ง ติดตาม) ให้ทุกเครือค่ายมีส่วนร่วม เน้น การใช้มาตรการชุมชน 4. วิเคราะห์ข้อมูล จุดเสี่ยง >> ขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในเมืองใหญ่ (City RTI) หมายเหตุ : ในปี 2560 ขอใช้เป้าหมาย 18 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งได้กำหนดไว้ใน PA ของปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ข้อมูลในการประเมินจากมรณบัตรของกรมการปกครอง โดย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้ให้รหัส ICD10
20
NCD Board (สหสาขา) เขต จ. อ.
KPI 8 : ลดจำนวนผู้ป่วย HT และ/หรือ DM รายใหม่ลง เมื่อเทียบกับปี 2559 (ลดลงร้อยละ 2.5/5.0 ตามลำดับ) Input Activities Small Success NCD Board (สหสาขา) เขต จ. อ. DHS ตำบลจัดการสุขภาพ (พี่เลี้ยง อสม.) 3D งบประมาณ 1. P4P ชุมชนรักษ์ไต 2. PPA ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค แพทย์วิถีธรรม 3. จังหวัดปลอดบุหรี่ (500,000 บาท สสส.) มี SM/ CM จ. อ. รพ. สต. >> NCD Clinic Plus 2. ตำบลจัดการสุขภาพตาม 3D >> ชุมชนจัดการสุขภาพ บูรณาการชุมชนลดเสี่ยงลดโรคและชุมชนรักษ์ไต สร้างนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมือ อาชีพ >>สมาธิบำบัด แพทย์วิถีธรรม 3 อ.2 ส. 4. คัดกรอง DM HT และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย 5. การบังคับใช้ ตรวจเตือนกม. สุรา ยาสูบ >> โรงเรียนปลอดบุหรี่ มาตรการชุมชน ผู้ป่วย DM รายใหม่ 1,513 ราย (เป้า 3,648 ราย) ผู้ป่วย HT รายใหม่ 2,149 ราย (เป้า 5,951 ราย) คัดกรอง DM HT ในปชช. 35 ปีขึ้นไป ได้ 89.96, ตามลำดับ (เป้าไตรมาส 1 ร้อยละ 50) ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 6,103 ราย (HDC 19 ธันวาคม 2559) เป้าหมายในการลดปีงบประมาณ 2560 คือ ไม่เกิน 5,951 ราย เมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ 1 จำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 2,149 ราย เมื่อพิจารณาร่วมกับผลการคัดกรอง ได้ร้อยละ ซึ่งมีความครอบคลุมสูง จะเห็นว่าเมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ 4 มีแนวโน้มที่จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงจะบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดคือไม่สูงเกินค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 3,840 ราย (HDC 19 ธันวาคม 2559) เป้าหมายในการลดจำนวนผู้ป่วยปีงบประมาณ 2560 คือ ไม่เกิน 3,648 ราย เมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ 1 มีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 1,513 ราย ซึ่งเมื่อพิจารณาร่วมกับผลการคัดกรอง ได้ร้อยละ ซึ่งมีความครอบคลุมสูง จะเห็นว่าเมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ 4 มีแนวโน้มที่จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานจะไม่สูงเกินค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ภายใต้การดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน และการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ ภาระงานของ CM และการบริหารจัดการข้อมูล ทักษะการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนและระบบการติดตาม ระบบเฝ้าระวัง ตรวจเตือน บังคับใช้ กม. บุหรี่ สุรา สร้าง SM อำเภอ และตั้งศูนย์ข้อมูลอำเภอรวบรวม และตรวจสอบคุณภาพก่อนส่งสสจ. เวทีลปรร. บูรณาการผ่านชุมชนจัดการสุขภาพ และพัฒนาระบบการติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง บูรณาการงานเฝ้าระวัง 2 ส. ผ่านงาน NCD ใน DHS
21
KPI 10: ตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว Long Term Care ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (100%)
Input Activities Small Success Partnership มี Aging Manager ระดับจังหวัด/อำเภอ มีคณะอนุกรรมการ LTC มีคณะทำงานในศูนย์การดูแลผู้สูงอายุ LTC . บูรณาการหน่วยงาน 4 กระทรวง (พม. ศธ. มท. และ สธ.) ภายใต้โครงการ3 ดี Regulatory แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ ) เกณฑ์มาตรฐาน LTC ประกาศ สปสช. (ฉบับ2)พ.ศ.2559 หนังสือสั่งการท่านปลัดกระทรวงสาธารณสุข . ปี59 ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ 22 แห่ง 100% และจัดทำ Care plan คน (85.09%) มี Care manager 50 คน ครบทุกตำบล มี Care giver 512 คน กลุ่มติดบ้าน เป็น กลุ่มติดสังคม 89 คน กลุ่มติดเตียง เป็น กลุ่มติดบ้าน 46 คน *มีนวตกรรมต้นแบบ การพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน “ท่าคันโท โมเดล” อ.ท่าคันโท Best practice: -โรงเรียนผู้สูงอายุ 105 แห่ง -มีต้นแบบ 6 แห่ง เด่น (อ.เมือง ยางตลาด กุฉินารายณ์ นามน ร่องคำ) Investment งบประมาณจาก สปสช./อปท. งบยุทธศาสตร์จังหวัดจำนวน362,800บาท Advocacy -ผ่านโรงเรียนผู้สูงอายุ -ดำเนินการระบบDHS+3ดี -มีระบบส่งต่อLTCที่มีคุณภาพ รพ.ยางตลาด Building Capacity -พัฒนาศักยภาพเครือข่ายLTC จำนวน 422คน 134 ตำบล เรียนรู้ที่ตำบลท่าคันโท OFI ข้อเสนอแนะ เร่งรัดการจัดทำCare planให้ครอบคลุมผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงพื้นที่LTC บูรณการงานร่วมกับทีมหมอครอบครัวและ4 กระทรวงหลัก จัดเวทีลปรร.ในพื้นที่ต้นแบบ ให้นายกและปลัดองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการบริหารกองทุนLTC
22
ประเด็นนโยบายกระทรวง : P&P Excellence แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรค
KPI 11 : ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (ร้อยละ 80) ประเด็นนโยบายกระทรวง : P&P Excellence แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรค Small success 3 เดือน : จัดทำโครงสร้าง EOC ผลการดำเนินงาน : จัดทำโครงสร้างและคำสั่ง EOC SAT มีห้อง EOC พร้อม อุปกรณ์ ทีม SAT ได้รับการพัฒนาศักยภาพ Key success : 1) ผู้บริหารให้ความสำคัญ และเป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 2) ประสบการณ์ตรงในการเปิด EOC ในช่วงการระบาดของ Zika 3) ผู้รับผิดชอบงานที่ สสจ. มีประสบการณ์สูง ปัญหาอุปสรรค โอกาสพัฒนา เป็นตัวชี้วัดใหม่ จังหวัดยังเข้าใจคลาดเคลื่อนในรายละเอียดของตัวชี้วัด โครงสร้างในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ควรจัดหนึ่งคนรับผิดชอบ 1 หน้าที่ หรืออาจซ้ำได้แต่ต้องน้อยที่สุด โดยเฉพาะ SAT และ Operation ไม่ควรซ้ำกัน จังหวัดยังเข้าใจคลาดเคลื่อนระหว่างการทำงานปกติ กับ Activate EOC ควรแบ่งทีม Operation ออกเป็นอย่างน้อย 3 ทีม และทีมควรใช้บุคลากรจากโรงพยาบาลจังหวัดด้วย ไม่ควรจำกัดอยู่เพียงบุคลากรจาก สสจ. เท่านั้น สำนักระบาดวิทยา และ สคร. เป็นพี่เลี้ยง และสนับสนุนการดำเนินการ
23
KPI 12 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ (≥85%)
ค้นหา ดูแลรักษา อำเภอ Top 3 / จังหวัด กำหนดประชากรกลุ่มเสี่ยง คัดกรองเชิงรุก ประเมินผล โรงพยาบาลทุกแห่ง (ศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน) มีการบันทึกและรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคผ่าน โปรแกรม TBCM 2010 หรือ โปรแกรม TBCM Online โรงพยาบาลมีการนำข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคจาก โปรแกรม TBCM 2010 หรือ โปรแกรม TBCM Online เพื่อนำไปวางแผนการดำเนินงานและการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเป้าหมายทุกแห่งในปี 2560 ได้รับการประเมินมาตรฐาน QTB (3 โรงพยาบาล/จังหวัด : ผ่าน 80%) เรือนจำเป้าหมายทุกแห่งได้รับการประเมินมาตรฐานการ QTBP ในปี ( 1 เรือนจำ/จังหวัด : ผ่าน 50%)
24
KPI 12 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ (≥85%)
Input Activities Small Success -หน่วยงาน สสจ.,โรงพยาบาลรัฐ (รพท./รพช.) เรือนจำ ร่วมดำเนินงาน -งปม .จาก GF, สสจ, CUP สนับสนุนการดำเนินงาน - ประชุมพัฒนาโปรแกรม TBCM และเร่งรัดค้นหา ดูแลรักษาวัณโรค นิเทศ ติดตาม กำกับ ประเมินผล ความก้าวหน้าการดำเนินงาน เครือข่ายการดำเนินงานวัณโรคเข้มแข็ง และมีการพัฒนาศักยภาพผู้ดำเนินงาน -กำหนดกลุ่มเป้าหมายประชากรกลุ่มเสี่ยง และอำเภอที่คัดกรองเชิงรุกเต็มพื้นที่ -โรงพยาบาล (รพท./รพช.) มีการบันทึก และรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคผ่าน โปรแกรม TBCM 2010 ร้อยละ 100 OFI ข้อเสนอแนะ อัตราการเสียชีวิต ร้อยละ 8.38 (เป้าหมาย <5) และอัตราการขาดยา ร้อยละ 2.1 (เป้าหมาย 0) (ปีงบประมาณ 2558) -รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมกันกำหนดมาตรการลดอัตราการเสียชีวิตและขาดยาระหว่างรักษาวัณโรค -นิเทศ ติดตาม กำกับ การดำเนินงาน -ศึกษาค้นหาสาเหตุ และปัจจัยที่แท้จริง
25
KPI 13 : ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด (92%)
Input Activities Small Success -ผู้นำสูงสุดของจังหวัดให้ความสำคัญและสนับสนุนงาน -มีหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ -ร่วมกับภาคีเครือข่ายดำเนินงานด้านยาเสพติดที่เข้มแข็ง -จัดอบรมBA/BI รพ.สต.ทุกแห่ง -จัดอบรมการลงรายงาน บสต. ให้ จนท.รพ. ทุกแห่งในจังหวัด -จัดประชุมโต๊ะข่าวยาเสพติดร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกเดือน - ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน ร้อยละ 100 (6 ราย) - รพ.สต.สามารถเปิดให้บริการ BA/BI ทุกแห่ง - รพศ.-รพช.สามารถเปิดให้บริการบำบัดแบบ Matrix Program ทุกแห่ง OFI ข้อเสนอแนะ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านยาเสพติด - มีแพทย์เวชศาสตร์สารเสพติด ครบทุกรพ. (ปัจจุบันมีเพียง 1 แห่ง (5.56%) ยังขาด 17 แห่ง) - มีพยาบาล PG ด้านยาเสพติด ครบทุกรพ. (ปัจจุบันมีเพียง 5 แห่ง (27.78%) ยังขาด 13 แห่ง) ส่งเสริมการพัฒนาสถานพยาบาลให้ได้รับการรับรองคุณภาพ HA ยาเสพติดเพิ่มขึ้น (ยังไม่ผ่าน 11 แห่ง 61.11%) - ควรมีโครงสร้างงานและอัตรากำลังด้านยาเสพติดที่เฉพาะและชัดเจน - ควรส่งเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรเพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจ - ควรกระตุ้นให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน ยาเสพติด (HA ยาเสพติด)
26
KPI 15 : ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (80%)
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น ผลลัพธ์ที่ต้องการ เป้า ตรวจ ผ่านมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน ปี60 ผักและผลไม้สด (สถานที่ผลิต/สารตกค้าง) ปลอดภัยจาก สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (70%) 1000 83 80 (96%) 0.83 เนื้อสัตว์สด ปลอดภัยจากการปลอมปน สารเร่งเนื้อแดง (70%) 50 - NA แผนเก็บตั้งแต่ มีค.ทุกเดือน น้ำบริโภคในภาชนะ บรรจุที่ปิดสนิท คุณภาพมาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด (100%) 259 แผนเก็บ กพ.- มีค ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ การใช้วัตถุเจือปนอาหาร ตามเกณฑ์ที่กำหนด (70%) 10 แผนเก็บ เม.ย. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารที่มีฤทธิ์ทางยา (75%) 3 ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐาน 1 แผนเก็บ กพ.และมิ.ย. ผลิตภัณฑ์จากแป้ง น้ำมันทอดอาหาร ณ สถานที่ผลิตกลุ่มเป้าหมายและสถานที่จำหน่าย มีปริมาณสารโพลาร์ตามเกณฑ์ที่กำหนด (80%/80%) แผนเก็บ มี.ค.
27
KPI 15 : ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (80%)
Input Activities Small Success Partnership หน่วยงานภาครัฐ อปท. เอกชน ผู้ประกอบการ Investment งบประมาณ 5,030,000 บาท Regulatory สัมมนาผู้ประกอบการด้านอาหารให้ตระหนักและรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์ของตัวเอง น้ำดื่มจากโครงการประชารัฐ(สร้างความรู้ความเข้าใจ พัฒนาให้ได้มาตรฐาน ขออนุญาตให้ถูกต้อง) น้ำดื่มทั่วไป เฝ้าระวังตามแผน ทำเส้นทางอาหารให้มีความชัดเจนและมีความปลอดภัย(ผักผลไม้,ฟอร์มาลีนในอาหารสด) รับรองมาตรฐาน/เชิดชูเกียรติแก่ผู้ประกอบการด้านอาหารที่ทำดี (Kalasin Food Safety: KS) บังคับใช้กฎหมาย Advocacy ส่วนกลางควรมีกระบวนการพัฒนาระบบงบประมาณเชิงภูมิภาคด้านความปลอดภัยด้านอาหาร Building Capacity เติมเต็มบุคลากรให้เหมาะสมกับภาระงาน ดำเนินการเฝ้าระวังได้ตามแผน ร้อยละ 6.04 ตรวจ 83 ตย. จากเป้าหมาย 1376ตย. OFI ข้อเสนอแนะ การทำงานเครือข่ายอาหารปลอดภัยในระดับอำเภอและตำบลยังทำได้ไม่ครอบคลุม จังหวัดควรเร่งประสานความร่วมมือกับเครือข่ายในระดับอำเภอและตำบล
28
การดำเนินงานของจังหวัด
KPI 14 : ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (95%) รูปแบบการดำเนินงานของจังหวัด: คณะอนุกรรมการคบส.ระดับจังหวัด SAT คณะอนุกรรมการคบส.ระดับอำเภอ (operation team) และศูนย์เย็นใจ(เป็นทั้งSAT และoperation team ในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล) SAT ( Situation Awareness Team) Risk Assessment Risk Management Risk Communication คณะทำงานปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ( OperationTeam) ตอบโต้สถานการณ์อย่างทันท่วงที และคืนข้อมูลกลับให้ SAT
29
KPI 14 : ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (95%)
OFI ข้อเสนอแนะ การดำเนินงานในไตรมาสแรกเป็นช่วงของการวางแผน ควรเร่งรัดการปฏิบัติงานตามแผน
30
ตัวชี้วัด 16 : ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน อัตรา/ร้อยละ 1 สถานพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ 100 188 175 93.1 2 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนดร้อยละ 60 37 100 3 ร้อยละ สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ 80 96.5 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ควรมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง หากพบว่าผู้ประกอบการดำเนินการไม่ได้ตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด ซึ่งอาจส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้รับบริการ เพิ่มการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานมาตรฐานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพตามที่กฎหมายกำหนด
31
KPI 17 : รพ.ผ่านเกณฑ์ G&C Hospital (75%)
Input Activities Small Success - จังหวัดมีการดำเนินการG&C Hos. ตั้งแต่ปี 2554 - แผนยุทธศาสตร์จังหวัด ปี 2560 เป็นนโยบาย นพ.สาธารณสุขจังหวัดและตัวชี้วัดในการดำเนินงานของจังหวัด - จังหวัดขยายเกณฑ์ ลงสู่ รพ.สต.ติดดาวอำเภอละ 2 แห่ง -จัดประชุมชี้แจงผู้บริหารในที่ประชุม กวป.จังหวัด - จัดศึกษาดูงานโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐาน G&C สำหรับผู้รับผิดชอบงาน ณ รพ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร - สสจ.มีแผนออกประเมิน เดือนเมษายน มีโรงพยาบาลทั้งหมด 18 แห่ง ประเมินตนเองผลงาน 11 แห่ง มีแผนพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมฯจำนวน 6 แห่ง OFI ข้อเสนอแนะ เนื่องจากเกณฑ์ G&C มีรายละเอียดเกณฑ์มาตรฐานซ้อนในเกณฑ์ประเมิน ผู้ประเมินต้องศึกษารายละเอียดแต่ละเกณฑ์ เช่น เกณฑ์มาตรฐานโรงครัว เกณฑ์มาตรฐานส้วม HAS ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการจัดการขยะติดเชื้อ เป็นต้น ผู้รับประเมินและผู้ประเมินทำความเข้าใจในรายละเอียดเกณฑ์ รวบรวมนวัตกรรมของโรงพยาบาลเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น การประหยัดพลังงาน การลดโลกร้อน เป็นต้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.