งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
(ภายใต้แนวทางการขับเคลื่อนตามแนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน ให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ) กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖

2 กรอบแนวคิดการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
Local Economy ปี 2560 กรอบแนวคิดการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1

3

4 ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ “เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป อาหารและ หัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหาร สร้างความโดดเด่นของสินค้า หัตถอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมให้มีการประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

5 Unique Position: เศรษฐกิจสร้างสรรค์ วัฒนธรรมล้านนา
ส่วนนำโครงการ (ปรับจากข้อมูลพื้นฐานโครงการโดยนำเสนอในเขิงสถิติ/ แผนภาพที่เป็นปัจจุบันและน่าสนใจ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับ เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายการค้า การลงทุน และการค้าชายแดนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ ทำไมต้องทำโครงการนี้ โครงการนี้ ทำอะไร เป้าหมายโครงการ (ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ): ความพร้อมในการดำเนินโครงการ แนวทางการบริหารจัดการในระยะต่อไป/การสร้างความต่อเนื่องและยั่งยืน - ภาคเหนือตอนบน 1 มีจำนวน SMEs 132,177 ราย แต่มีการจดทะเบียนนิติบุคคลเพียง 20,783 ราย (15%) จำเป็นต้องมีการปรับโครงสร้างของ SMEs ให้มีการจดทะเบียนเพื่อเข้าสู่ระบบมากยิ่งขึ้น - ภาคเหนือตอนบน 1 มีผู้ประกอบการในกลุ่มหัตถอุตสาหกรรม 1,630 ราย มียอดจำหน่าย 9,600 ล้านบาท/ปี (ส่งออกประมาณ 1,000 ล้านบาท) - พัฒนาฐานความรู้และปัจจัยพื้นฐานด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชื่อมโยงการสร้างให้เกิดชุมชนสร้างสรรค์ในพื้นที่เป้าหมาย - พัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์แบบ Cross Function - จัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ - พัฒนาการเชื่อมโยงทางด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ - สัดส่วนของ SMEs ที่จดทะเบียนเพิ่มขึ้นจาก 15% เป็น 20% - ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหัตถอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ล้านบาท/ปี -สามารถดำเนินการแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ หรือภาย 1 ปีหลังจากได้รับงบประมาณ - สร้างเครือข่ายการพัฒนาร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา (Triple Helix) โดยเฉพาะบุคลากรรุ่นใหม่ (Creative Generation) เพื่อร่วมกันพัฒนาแนวคิดเชิงสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง - สนับสนุนการประกอบการในลักษณะ Social Enterprise เพื่อสร้างความสมดุลและยั่งยืนในระบบเศรษฐกิจควบคู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อม

6 รวม 7 กิจกรรม พช 190.2951 ล้านบาท งบประมาณ 326,297,578 บาท
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับ เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายการค้า การลงทุน และการค้าชายแดนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง พัฒนาฐานความรู้และปัจจัยพื้นฐานด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ (creative community) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผู้ประกอบการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนากิจกรรมสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์เชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจเชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ ฐานข้อมูล และองค์ความรู้ ย่าน/แหล่งชุมชนสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการของชุมชน กิจกรรมสร้างคุณค่า วิสาหกิจชุมชน ในประเทศ กิจกรรมหลัก ศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ (IDEA House) งบประมาณ: 30,000,000 บาท (ดำเนินงาน 27,583,630 / ลงทุน 2,416,730) หน่วยงาน: ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 + สภาอุตสาหกรรม + NOHMEX กิจกรรมหลัก พัฒนาพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ งบประมาณ: 130,598,858 บาท (ดำเนินงาน 111,880,685 / ลงทุน 18,718,173) หน่วยงาน: สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 / สนง.อุตสาหกรรม 4 จังหวัด นักธุรกิจ แหล่งเรียนรู้/ศูนย์การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ SMEs ต่างประเทศ กิจกรรมหลัก สร้างและพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ในอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงระบบดิจิทัล งบประมาณ: -30,000,000 บาท (ดำเนินงาน 30,000,000) หน่วยงาน: ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภารที่ 1 + หอการค้า + สภาอุตสาหกรรม กิจกรรมหลัก ยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ งบประมาณ: 73,790,720 บาท (ดำเนินงาน 73,665,720 / ลงทุน 125,000) หน่วยงาน: สำนักงานอุตสาหกรรม 4 จังหวัด + สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด สภาอุตสาหกรรม + NOHMEX กิจกรรมหลัก ASEAN Design and Business Center งบประมาณ: 15,000,000 บาท (ดำเนินงาน 14,250,000 / ลงทุน 750,000) หน่วยงาน: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมหลัก เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมสู่ตลาดที่มีศักยภาพ งบประมาณ: 38,880,000 บาท (ดำเนินงาน 38,800,000) หน่วยงาน: สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด กิจกรรมหลัก พัฒนาคลังปัญญาผู้สูงอายุสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์ งบประมาณ: 8,028,000 บาท (ดำเนินงาน 8,028,000 ) หน่วยงาน: ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์เชียงใหม่ รวม 7 กิจกรรม งบประมาณ 326,297,578 บาท ดำเนินงาน 304,288,035 บาท (93%) ลงทุน 22,009,543 บาท (7%) พช ล้านบาท อก ล้านบาท พณ ล้านบาท พม ล้านบาท

7 โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแนวทางสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ ประจำปี พ.ศ ของหน่วยงานในสังกัด อก. 87,646,400 บาท โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ (82,345,800 บาท) โครงการส่งเสริมอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ (IDEA House) ศภ.1 (24,438,200 บาท) สร้างศักยภาพเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์กาแฟแปรรูปแม่ฮ่องสอนสู่ตลาดสากล สอจ.แม่ฮ่องสอน 5,300,600 บาท ถ่ายทอดความรู้ด้านออกแบบ ผปก 250 ราย พัฒนา 10 ผลิตภัณฑ์ Northern Strategic Incubation & Training for Entrepreneur 100 ราย สร้างและพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ในอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงระบบดิจิทัล ยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ สอจ.เชียงใหม่ (18,493,500 บาท) ศภ.1 (15,890,000 บาท) สอจ.ลำปาง (3,274,100 บาท) 8 Week Coaching 50 ราย อบรมเบื้องต้นหลักสูตรการสร้าง Startup 200 ราย พัฒนา 200 ผลิตภัณฑ์ เสือผ้า เครื่องแต่งกาย ของประดับตกแต่ง ของที่ระลึก เซรามิก พัฒนาพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ Fashion & Lifestyle Product Northern Creative Thailand Industry Expo + Roadshow & Matching ศภ.1 (20,250,000 บาท) พัฒนาหมู่บ้าน CIV 4 ชุมชน

8 Local Economy ปี 2561

9

10

11 กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖
วิสัยทัศน์ ยกระดับศักยภาพภาคอุตสาหกรรมสู่การผลิตระดับสากล เชื่อมโยงตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม สู่ระดับสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ เชื่อมโยงผลผลิตภาคอุตสาหกรรม สู่ตลาดภายในและต่างประเทศที่มีศักยภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีความเข้มแข็งและได้รับการยอมรับ

12 งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสู่ระดับสากล กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ พัฒนาผู้ประกอบการและบุคลากรภาคอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่อุปทานให้มีสมรรถนะสูง บ่มเพาะผู้ประกอบการและบุคลากรรองรับการค้าการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (๕๐ - ๑๐๐ ราย/ปี) ๑๐ ๒.๕ ๓.๐ ๓.๕ ๔.๐ ส่งเสริมและพัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการในลักษณะเครือข่ายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาห่วงโซ่การผลิตของคลัสเตอร์อุตสาหกรรมเป้าหมายให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น (๓ - ๕ คลัสเตอร์/ปี) ๔๐

13 งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนากระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสังคม สิ่งแวดล้อม และชุมชน ยกระดับกระบวนการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด และพัฒนาผลิตภัณฑ์/นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (๓๕๐ ราย/ปี) ๒๘ ๗.๐ เชื่อมโยงและเสริมสร้างความเข้าใจการประกอบการอุตสาหกรรมกับชุมชนและท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง กำกับดูแลการประกอบกิจการของภาคอุตสาหกรรม (๒๕๐ ราย/ปี) ๑๐ ๒.๕

14 งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : เชื่อมโยงผลผลิตภาคอุตสาหกรรมสู่ตลาดการค้าชายแดนและตลาดที่มีศักยภาพ กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเป้าหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมโดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเชื่อมโยงสู่ตลาดโลก (๑๕๐ ผลิตภัณฑ์/ปี) ๑๒๐ ๓๐ เชื่อมโยงและขยายช่องทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์เป้าหมายที่มีศักยภาพ Northern Thailand Industry Expo (๑ ครั้ง/ปี ผู้ประกอบการร่วมออกบูท ๕๐๐ ราย) ๔๐ ๑๐ นำผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพเชื่อมโยงสู่ตลาดระดับนานาชาติ (๕๐ ราย/ปี)

15 งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีความเข้มแข็งและได้รับการยอมรับ กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ บูรณาการและเชื่อมโยงแผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๓ ครั้ง/ปี) ๐.๒๕ พัฒนาบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีศักยภาพและขีดความสามารถสูงขึ้น เพิ่มขีดความสามารถให้แก่บุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด (๓๐ คน/ปี)

16 ล้านบาท ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ภาคเหนือ "ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง" จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการค้าการลงทุน ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง เป้าหมาย KPI ด้านการค้า การลงทุน เจ้าภาพหลัก : กระทรวงอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงภูมิปัญญา ล้านบาท การยกระดับกระบวนการผลิต เชื่อมโยง เทคโนโลยีและนวัตกรรม ล้านบาท การพัฒนาช่องทางการตลาดและการเชื่อมโยงทางธุรกิจ ล้านบาท มูลค่าการค้า การลงทุนที่เพิ่มขึ้นของภาคเหนือ ร้อยละ 5 โครงการยกระดับพื้นที่และผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ( ล้านบาท) พัฒนาพื้นที่หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกเชิงสร้างสรรค์ที่มีมูลค่าสูง / ล้านบาท / สนง.อุตสาหกรรม เชียงใหม่ จัดงาน Northern Thailand International Creative Innovation and Design Expo / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ใหม่ 500 ผลิต ภัณฑ์ หมู่บ้านอัตลักษณ์หัตถกรรมล้านนาเพื่อการท่องเที่ยว / ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ พัฒนาเมนูอาหารเชิงวัฒนธรรมสร้างสรรค์เพื่อการท่องเที่ยว / ล้านบาท / สนง.อุตสาหกรรม เชียงใหม่ จัดงาน Northern Thailand Food Valley & Machine Tech Expo / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ต้นแบบ 32 แห่ง โครงการยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป Northern Thailand Food Valley สู่อุตสาหกรรม 4.0 ( ล้านบาท) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่ายอุตสาหกรรมอาหารด้วย Digital Cluster / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 สร้างภาพลักษณ์และสร้างการรับรู้ Northern Thailand Food Valley สู่ผู้บริโภค / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนา 2,000 ราย โรงเรียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา “OTOP Backstreet Academy” / ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ ยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP Cluster ประเภทอาหาร “Lanna Creative Food” / ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ พัฒนาภาพลักษณ์และส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายอุตสาหกรรมการแพทย์และสุขภาพ ( ล้านบาท) เกิดเครือข่าย Cluster อุตสาหกรรมเป้าหมาย 5 เครือ ข่าย สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ภาคอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารสู่มาตรฐานการผลิตอาหารปลอดภัยระดับสากล (Food Safety) / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ตลาดนัดสุขภาพจังหวัดเชียงใหม่ / ล้านบาท / สนง.พาณิชย์ เชียงใหม่ โครงการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์คุณภาพสู่ตลาดระดับประเทศและระดับนานาชาติ ( ล้านบาท) ส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ / ล้านบาท / สนง.พาณิชย์ เชียงใหม่ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย 30,000 ล้านบาท พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสถานแปรรูปเบื้องต้นเพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่า / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์อาหาร (Food Innovation) / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ส่งเสริมช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนเชื่อมโยงสู่เป้าหมายที่มีศักยภาพ / ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชนเชียงใหม่ อก = ล้านบาท พช = ล้านบาท พณ = ล้านบาท ยกระดับอุตสาหกรรมหัตถกรรมสร้างสรรค์สำหรับอาหาร Northern Craft for Food / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ขับเคลื่อนผลงานวิจัยด้านสุขภาพสู่ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ / ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 มูลค่าการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 จัดกิจกรรม “ฮาลาลเชียงใหม่เพิ่มมูลค่าสู่ตลาดโลก / ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชนเชียงใหม่

17 รวมงบประมาณของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม 480,765,000 บาท
สรุปโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาภาค (ภาคเหนือ) ที่เสนอขอรับงบประมาณ ปี 2561 ด้านการค้าการลงทุน (ห่วงโซ่อุปทานกลางทาง) ลำดับ โครงการ งบประมาณ สปอ. กสอ. พช. มช. 1 ยกระดับพื้นที่และผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 574,026,500 99,000,000 61,500,000 312,872,500 100,654,000 2 ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป Northern Thailand Food Valley สู่อุตสาหกรรม 4.0 238,565,000 83,000,000 137,965,000 17,600,000 - 3 พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์และอุตสาหกรรมชีวภาพ 49,300,000 6,300,000 43,000,000 4 ศึกษาและออกแบบพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเชิงพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อรองรับอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ 50,000,000 รวมงบประมาณ 911,891,500 238,300,000 242,465,000 330,472,500 รวมงบประมาณของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม 480,765,000 บาท

18 แบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก 1. แผนพัฒนาจังหวัด 2. แผนพัฒนาภาค
Product Champion Base บูรณาการ 3 มิติ

19

20

21

22 การกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) เพื่อนำไปต่อยอดจัดทำโครงการ
ตัวอย่าง การกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) เพื่อนำไปต่อยอดจัดทำโครงการ เสนอขอรับประมาณ ตามแผนพัฒนาจังหวัด/ภาค (เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรม และ SMEs) กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖

23

24 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

25 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

26 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

27 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

28 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

29 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

30 การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค

31 การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
Area Agenda Function Project ยกระดับอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปฯ นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการผลิต ส่งเสริมความรู้และทักษะการผลิต Northern Thailand Food Valley ……………………………….

32 ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ

33 ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ

34 ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ

35 ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ

36 ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ

37 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
Area Agenda Function Project ยกระดับการท่องเที่ยวคุณภาพฯ สนับสนุนการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว (ของฝากของที่ระลึก) หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) Northern Creative Gift for Tourism

38 ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
Area Agenda Function Project พัฒนาเมืองศูนย์กลางการค้า การบริการ ธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และดิจิทัล สนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย เช่น ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป พัฒนาคุณภาพของผู้ประกอบการ Northern Strategic Industry Training & Incubation for Entrepreneurs : NSITE

39 การเติมเต็มความพร้อมให้สมบูรณ์
กลไกการขับเคลื่อนระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค กลไกการขับเคลื่อนระหว่างหน่วยงานสังกัด อก. กับหน่วยงานอื่น ๆ


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google