ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยณี รักไทย ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี E-Mail : JIRAPHON.KH@SBACNON.AC.THJIRAPHON.KH@SBACNON.AC.TH
2
วัตถุประสงค์ 1. นักศึกษารู้จักรูปแบบ คำสั่งแสดงผล 2. นักศึกษาเขียนคำสั่งใน การแสดงผลข้อมูลตัวแปร อาร์เรย์ได้ 3. นักเรียนจดบันทึกข้อมูล ต่างๆ ลงในสมุดได้อย่าง เรียบร้อย 2 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF
3
#include ** คำสั่งเรียกคำสั่งที่เกี่ยวข้องจาก Library #include main() ** คำสั่งสร้างชุดคำสั่งของโปรแกรม { ** เปิดคำสั่งการทำงาน คำสั่งประกาศตัวแปร clrscr(); ** คำสั่งล้างหน้าจอ คำสั่งการทำงาน... getch(); ** คำสั่งหยุดพักหน้าจอ } ** ปิดคำสั่งการทำงาน C Structure) โครงสร้างของภาษาซี (C Structure) 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 3
4
จำเป็นต้องทราบก่อนการเริ่มเขียนโปรแกรม เพื่อใช้ กำหนดการประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูลที่ใช้บ่อยๆคือ Data Type 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 4 ชนิดของข้อมูล คำสั่งที่ ต้องใช้ ตัวแทน ข้อมูล ความหมาย Characterchar%c, %s ตัวอักษร ตัวเลข และอักขระ Integerint%d ตัวเลขจำนวนเต็ม Floating Pointfloat%f ตัวเลขจำนวนจริง เพิ่มเติม : http://www.tutorialspoint.com/cprogramming/c_data_types.htm
5
คือ หน่วยความจำภายใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน การเก็บค่าข้อมูลที่ได้จากการรับ ค่าหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลของโปรแกรม *** การรับค่าข้อมูลทุกตัวจะต้องถูกเก็บไว้ใน ตัวแปรเสมอ เพื่อนำไปใช้ในการประมวลผลให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในโปรแกรม 3204 - 2008 : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 5 ตัวแปร (Variable)
6
1. ตั้งชื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลที่ เก็บ 2. ตั้งชื่อห้ามเว้นวรรค หากต้องการ เว้นวรรคให้ใช้ _ แทน 3. ตั้งชื่อต้องใช้ A-Z หรือ a-z หรือ 0-9 เท่านั้น 4. ตัวอักษร พิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่ ถือเป็นคนละตัวกัน 5. ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน เช่น is am are not ฯลฯ 3204 - 2008 : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 6 กฎการตั้งชื่อตัวแปร
7
รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปร 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 7 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; ชื่อตัว แปร เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน สามารถกำหนดได้ดังนี้ เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName ; ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char
8
เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บ จำนวนครู และ อายุครู คำสั่งประกาศตัวแปร 3204 - 2008 : LECTURE-W2 Introduce C & Data Type 8 อายุครู Age of Teacher intT_Num ; T_Age ชนิด ข้อมูล ตัวเลข จำนวนเต็ม int จำนวนครู Number of Teacher T_Num intT_Age ; int;T_Num,
9
คือ การกำหนดค่าตัวแปรภายใต้ชื่อตัวแปร 1 ตัว กำหนดให้สามารถทำการเก็บค่าข้อมูลได้มากกว่า 1 ค่า ข้อมูล โดยอาศัยดัชนีในการชี้ตำแหน่งของข้อมูลนั้นๆ ซึ่งอาร์เรย์ แบ่งเป็นมิติ หลาย มิติ เช่น อาร์เรย์ 1 มิติ อาร์เรย์ 2 มิติ อาร์เรย์ หลายมิติ ตัวแปรอาร์เรย์ 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 9
10
รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 10 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน จำนวน 25 ตัว เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName[25] ; stdName ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char ชื่อตัวแปร [ จำนวนช่อง ] ไม่เกิน 25 ตัว จำนวนช่อง 25
11
คำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 11 i012345....24 * NUN/0 char stdName[25] = “NUN” ; stdName[25]
12
รูปแบบคำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 12 ชื่อย่อของ ชนิดข้อมูล ; เช่น กำหนดให้สร้างตัวแปรในการเก็บชื่อนักเรียน 2 ชุด โดยแต่ละชื่อ ไม่เกิน 25 ตัว เก็บชื่อ นักเรียน Student Name charstdName[2][25] ; stdName ชนิด ข้อมูล ตัวอักษร char ชื่อตัวแปร [ จำนวน แถว ][ จำนวนช่อง ] ไม่เกิน 25 ตัว จำนวนช่อง 25 2 ชุด จำนวนแถว 2
13
คำสั่งประกาศตัวแปร คำสั่งประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 13 i0123456...24 0 MEITAT/0 1 PRAKARN char stdName[2][25] = {{“MEITAT”}, {“PRAKARN”}} ; stdName[2][25] stdName[1][3] คือ K stdName[0][5] คือ T
14
รูปแบบคำสั่งแสดงผล (printf) คำสั่งแสดงผล 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 14 printf(“ ข้อความกำหนดเอง ”) ; printf(“ ตัวแทนข้อมูลตามชนิดข้อมูล ”, ชื่อตัว แปร ) ; เช่น printf(“Hello C”) ;Hello C printf(“%d”, stdAge) ;20 int stdAge = 20 ;
15
คำสั่งนี้จะสามารถนำไปใช้ในการจัดการการ แสดงผลบนจอภาพ อาทิ การขึ้นบรรทัดใหม่ การย่อหน้า จำเป็นต้องใช้ร่วมกับคำสั่ง printf และต้องเขียน รหัสควบคุมอยู่ใน “ ” เท่านั้น ที่มา : http://e-learning.snru.ac.th/els/program1/lesson3/page3_2.html คำสั่งที่ใช้จัดการในการแสดงผล 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 15 รหัสควบคุมความหมาย \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t แท็บย่อหน้าข้อความ \bBack Space
16
เช่น คำสั่งที่ใช้จัดการในการแสดงผล 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 16 printf(“\tHello\n C”) ; Hello C ผลลัพธ์ที่แสดงผลอยู่ บนจอภาพ
17
เขียนโปรแกรมภาษาซีให้แสดงประวัติส่วนตัว ของตัวเองให้คล้ายกับตัวอย่างต่อไปนี้ Work Shop 3204 - 2008 : LAB-W2 ARRAY & PRINTF 17 ที่ขีดเส้นใต้คือ ต้อง เก็บค่าลงตัวแปร ก่อนจึงค่อยดึงมา แสดง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.