ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยปรีดา รักไทย ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
อำเภอเมืองลำพูน 1
2
พื้นที่รับผิดชอบ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ต.อุโมงค์ ต.เหมืองง่า
ต.ต้นธง บ้านกลาง ต.บ้านแป้น ต.ประตูป่า ต.มะเขือแจ้ เวียงยอง ต.ป่าสัก ต.หนองช้างคืน ต.เหมืองจี้ ต.ศรีบัวบาน ต.ริมปิง ต.อุโมงค์ ต.หนองหนาม ในเมือง ต.เหมืองง่า บ้านสันมะนะ บ้านหนองหลุม บ้านม้า บ้านป่าซางน้อย บ้านหนองหล่ม สัญลักษณ์ บ้านป่าห้า โรงพยาบาลลำพูน (รพท.) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เหมืองจี้ 2 2
3
และผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 13.91
ปิรามิดประชากรอำเภอเมืองลำพูนปี 2556 ปชก. 143,280 คน ชาย หญิง 67,802 คน 75,478 คน การกระจายตามกลุ่มอายุของเด็กต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 4.03 ประชากรวัยแรงงาน ร้อยละ 68.35 และผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 13.91 3
4
อำเภอเมืองลำพูน การปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 ตำบล
15 ตำบล 159 หมู่บ้าน 17 ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลเมือง แห่ง เทศบาลตำบล แห่ง อบต แห่ง 4
5
อาชีพ * การเกษตร - การทำนา - ลำไย - ปลูกพืชผัก - กระเทียม หอมแดง
- กระเทียม หอมแดง * รับจ้าง 5
6
2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) 2 แห่ง 3. รพ.สต. 16 แห่ง
1. รพ.ทั่วไป เตียง แห่ง 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) แห่ง 3. รพ.สต แห่ง (รพ.สต.ขนาดใหญ่) แห่ง 4. ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล แห่ง 5. โรงพยาบาลเอกชน แห่ง 6
7
ข้อมูลบุคลากร(สสอ.เมืองลำพูน)
จำนวนบุคลากร พยาบาลวิชาชีพ/เวช นวก.สาธารณสุข จพง.สาธารณสุข จพง.ทันตฯ ลูกจ้างอื่นๆ รวมทั้งหมด 22(20) 38 23 3 60 146 รายละเอียด 7
8
โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ปัญหาการฆ่าตัวตาย โรคไข้เลือดออก วัณโรค
8
9
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จำนวนผู้ดื่ม 27433 คน ร้อยละ 19.23
จำนวนผู้ดื่ม คน ร้อยละ 19.23 จำนวนผู้ติด คน ร้อยละ 0.53 ร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1,326 ร้าน ร้านจำหน่ายบุหรี่ จำนวน ร้าน 9
10
แต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอและเครือข่ายตำบลควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๖
10
11
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การประชุมชี้แจงร้านค้า
11
12
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การออกตรวจชี้แจงร้านค้าร่วมกับ รพ.ลำพูน 12
13
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การออกตรวจชี้แจงปั๊มน้ำมันร่วมกับ รพ.ลำพูน 13
14
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 14
15
การออกตรวจร้านอาหารร่วมกับ รพ. สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ. ศ
การออกตรวจร้านอาหารร่วมกับ รพ.สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 15
16
การออกตรวจร้านขายของชำร่วมกับ รพ. สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ
การออกตรวจร้านขายของชำร่วมกับ รพ.สต. ตาม พรบ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535 16
17
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รณรงค์ในชุมชน 17
18
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การดำเนินงานหมู่บ้านงานศพปลอดเหล้า 18
19
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันขึ้นปีใหม่) 19
20
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 20
21
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 21
22
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 22
23
การดำเนินงานควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การเฝ้าระวังและบังคับใช้กฏหมาย(วันสงกรานต์) 23
24
จัดสถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตาม พรบ
จัดสถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 24
25
ออกตรวจการร้องเรียนในสถานที่ราชการการ
ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 25
26
ออกตรวจการร้องเรียนในสถานที่ราชการการ
ตาม พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 26
27
ชี้แจงในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ
27
28
ปัญหาและอุปสรรค 1. ร้านค้าและผู้ประกอบการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบยังไม่ตระหนักถึงการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. ร้านขายของชำมีแทรกอยู่ในชุมชนง่ายต่อการเข้าถึงและใช้บริการ เป็นการยากที่จะควบคุมให้กระทำตามกฎหมาย 28
29
ข้อเสนอแนะ 1.ร้านค้าผู้ประกอบการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบควร มีส่วนร่วมในการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ มากกว่าที่จะให้ภาครัฐดำเนินการแต่ฝ่ายเดียว 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ถึงโทษและพิษภัย ของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน และ กลุ่มวัยแรงงานในนิคมอุตสาหกรรม 3. ควรมีมาตรการสังคมโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง 29
30
30
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.