ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat
2
1.เลขอะตอม เลขมวลอะตอม และสัญลักษณ์ทางนิวเคลียร์
อะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะ มีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวตัว เลขที่แสดงจำนวนโปรตอนที่ มีอยู่ในนิวเคลียสของธาตุ เลขมวล อะตอมเป็นจำนวน เต็มเสมอผลรวมของจำนวน อิเล็กตรอน มวลอะตอมอาจจะ เป็นจำนวนเต็มหรือไม่เต็มก็ ได้ 1.เลขอะตอม เลขมวลอะตอม และสัญลักษณ์ทางนิวเคลียร์ สัญลักษณ์ บอกรายละเอียดเกี่ยวกับ จำนวนอนุภาคมูลฐานที่เป็นสิ่งที่ เขียนแทนโครงสร้างของนิวเคลียส อนุภาคมูลฐานภายในนิวเคลียสที่ เรียกว่า นิวคลีออนและนิวไคลด์ ถ้าอะตอมที่เป็นกลางจะมีจำนวน อิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอนถ้าอะตอม มีการสูญเสียอิเล็กตรอนหรือรับ อิเล็กตรอนเข้าสู้อะตอมจะมีสภาพวะ เป็นไอออน My.athiwat
3
2.การค้นพบกัมมันตภาพรังสีและ การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
คศ.ที่19 อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล ค้นพบ เกลือของยูเรเนียมมีรังสี แปลกปะหลาดปลดปล่อยออกมา อองตวน อองรี แบ็กเกอแรล เป็นคน แรกที่ค้นพบกัมมัมตภาพรังสี แสงแดดเป็นตัวกลางที่ทำให้ ธาตุยูเรเนียมปลดปล่อยรังสี เอกซ์ รังสีที่ปลดปล่อยออกมา จากเกลือโพเเทสเซียมยูเรนิล ซัลเฟต 2.การค้นพบกัมมันตภาพรังสีและ การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส สามารถทำให้ฟิล์มถ่ายรูปดำได้ รอยดำจะขึ้นอยู่มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอะตอมในสารประกอบ รังสีที่ปลดปล่อยออกมาจากเกลือโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต มี3ชนิดคือ 1.รังสีแอลฟา 2.เบต้า 3.แกรมมา My.athiwat
4
My.athiwat 3. สลายของธาตุกัมมันตรังสี
การที่นิวเคลียส สลายก่อนหลังไม่ มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนเป็นขบวนการ ทางสถิติที่เรียกว่า ความน่าจะเป็น อันตรายการสลายของธาตุ กัมมันตรังสี เรียกว่ากำมันตภาพ 3. สลายของธาตุกัมมันตรังสี การที่นิวเคลีสของธาตุที่ไม่เสถียน เปลี่ยนไปเป็นนิวเคลียสของธาตุ ใหม่หรือเปลี่ยนโครงสร้างภายใน แล้วปล่อยกัมมันตรังสีออกมา พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาก็ เป็นแหลงกำเนิดมาจาก นิวเคลียส การสลายตัวเกิดขึ้น อย่างค่อยเป็นค่อยไปไม่รุ่นแรง My.athiwat
5
4. มวลพร่องและพลังงานยึด เหนี่ยวของนิวเคลียส
มวลของนิวเคลียส ของไอโซโทป ต่างๆที่นำไปรดค่า พบว่าน้อยกว่า มวลผลรวมของ โปรตอนกับ นิวตรอน แรงที่เกิดในช่วงแรกๆในระยะสั้นๆ เรียกว่า แรงนิวเคลียร์ 4. มวลพร่องและพลังงานยึด เหนี่ยวของนิวเคลียส นิยาม1u=1ส่วน12 เท่าของมวล C u= คูณ10 กำลังลบ27 กิโลกรัม นิวเคลียสจะ มีจำนวนเล็กมากและมวลน้อย มากในการวัดในหน่วย แรงที่ใช้ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนเข้า ด้วยกัน ไม่ใช่ทั้งแรงระหว่าง ประจุและแรงดึงดูดระหว่างมวล อนุภาพดังกล่าวนั้นจะต้องมีมวล มากกว่าอิเล็กตรอนแต่น้อยกว่า อิเล็กตรอน My.athiwat
6
My.athiwat 5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ทางนิวเคลียสหรือนิวคลีออนเคลื่อน ที่เข้าด้วยกันจะเกิดการจัดเรียง ระเบียบใหม่ขึ้น นิวเคลียสอาจจะมีนิ วคลีออน หรือ การแพร่รังสีติดตามมา ก็ได้ ปฎิกิริยานิวเคลียร์ จะมีปฎิกิริยาไม่ แตกต่างไปจากปฏิกิริยา เคมีแต่จะ ต่างที่ปริมาณ 5. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ นิวเคลียสที่ใช่หลอมจะเป็น นิวเคลียสเล็กๆเป็นปฏิกิริยาหลอม ตัวของนิวเคลียส เป็นปฏิกิริยาแยกออกจากนิวเคลียส โดยมีนิวตรอนเป็นตัววิ่งเข้าชน นิวเคลียสหนักๆ My.athiwat
7
6. ไอโซโทปกัมมันตรังสี และการ นำไปใช่ประโยชน์
เป็นกัมมันตภาพรังสีจะมีอันตราย ทำให้เกิดมะเร็งได้ ถ้าร่างกายได้ รับจะทำให้โมเลกุล ในเซลล์ไม่ทำงานตามปกติ 6. ไอโซโทปกัมมันตรังสี และการ นำไปใช่ประโยชน์ โทษ ถ้าส่วนได้ได้รับรังสีโมเลกุล ต่างๆ ที่ประกอบด้วยเซลล์จะแตกตัว ทำให้เกิดอาการป่วยไข้และเกิด มะเร็งได้ สารกัมมันตภาพรังสีก็สามารถใช่ ประโยชน์ ได้เช่นกัน เช่นแต่ถ้า เกษตรใช่ทำหมันศัตรูพืชใช่รักษา มะเร็งสมอง ตับไต และไทรอยด์ My.athiwat
8
My.athiwat 7. รังสีในธรรมชาติ
รังสีเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ที่เกิด จาการสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี รังสีที่มากจากดธรรมชาติคือ สารกัม มันตภาพที่มาจากพื้นดิน กัมมันตภาพรังสีที่ปะปนใน สิ่งแวดล้อมทั่วไปหรือมาจากสีที่มี ต้นกำเนินจากภายในนอกโลก 7. รังสีในธรรมชาติ การป้องกันถ้าจำเป็นที่ใกล้ๆบริเวณ ที่ธาตุกัมมันตภาพรังสีควรใช่เวลาที่ สั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้เพราะจะทำให้ เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ อันตรายจากรังสี เมื่อรังสีที่เกิดจาก ธาตุกัมตภาพรังสีผ่านเข้าไปใน เนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต จะทำให้ เปลี่ยนแปลงหรือตายทันที่ My.athiwat
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.