ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย
2
Basin of Ping Wang Yom Nan
KiwLom Dam Ping River Yom River Sirikit Dam Nan River Wang Rive Narasuan Dam Phumipol Dam Chowphaya Dam แม่น้ำเจ้าพระยา
3
แผนพัฒนาลุ่มน้ำยม สร้างเขื่อนเก็บกักน้ำห้วยสักหรือ เขื่อนแก่งเสือเต้น เหนือโครงการชลประทานแม่ยม อำเภอสอง จังหวัดแพร่ ซึ่งคาดว่าจะช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกได้ประมาณ 231,250 ไร่ สร้างเขื่อนทดน้ำ บริเวณแก่งหลวง อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เพื่อส่งน้ำให้แก่พื้นที่เพาะปลูกในจังหวัดสุโขทัย ได้ประมาณ 668,750 ไร่ ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล ซึ่งมีแหล่งน้ำบาดาลที่ดีในเขตอำเภอสวรรคโลกและอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย
4
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย
Yomriver หนองจรเข้ โซน 2 ศรีนคร พื้นที่ = 35,000 ไร่ = 1oo บ่อ บึงช่อ หนองแม่ระวิง Nanriver หนองปลาหมอ บึงลับแล โซน 1 สวรรคโลก พื้นที่ = 36,000 ไร่ = 104 บ่อ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย
7
ชั้นหินอุ้มน้ำ (Aquifer)
9
National Pumpset (USA)
. National Pumpset (USA) 139 wells Zone wells,zone2 35 wells
10
National Pumpset (USA)
65 wells zone2
11
ระบบบ่อสูบน้ำใต้ดินด้วยไฟฟ้า
12
พื้นที่บ่อ E3 หัวจ่ายน้ำ ท่อ PVC
13
ระบบท่อส่งน้ำ
14
หัวจ่ายน้ำ
17
ปฏิทินการปลูกพืช
18
เปอร์เซ็นต์การปลูกพืชฤดูแล้ง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย
19
เปอร์เซ็นต์การปลูกพืชฤดูฝน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาสุโขทัย
20
การกำหนดพื้นที่เพาะปลูกตามศักยภาพของน้ำต้นทุน
ปริมาณน้ำต้นทุน 1. อัตราการไหลของบ่อสูบน้ำใต้ดิน 2. ชั่วโมงการสูบน้ำ = 10 ชั่วโมงต่อวัน 3. จำนวนวันที่สูบน้ำ 5 วันต่อสัปดาห์ (หยุดวันเสาร์-อาทิตย์) ค่าการใช้น้ำของพืช - ฤดูแล้ง พืชไร่ ใช้น้ำสัปดาห์ละ 70 ม.3 / ไร่ / สัปดาห์ ข้าว ใช้น้ำสัปดาห์ละ ม.3 / ไร่ / สัปดาห์ เฉลี่ย ม.3 /ไร่ / สัปดาห์ - ฤดูฝน พืชไร่ ใช้น้ำสัปดาห์ละ 60 ม.3 / ไร่ / สัปดาห์ ข้าว ใช้น้ำสัปดาห์ละ 80 ม.3 / ไร่ /สัปดาห์ เฉลี่ย ม.3 / ไร่ / สัปดาห์
21
หลักการคำนวณในการวางแผนการส่งน้ำในบ่อสูบน้ำใต้ดิน
ตัวอย่างหาจำนวนพื้นที่ส่งน้ำ บ่อ 10 ข้อมูลในการคำนวณหาพื้นที่ชลประทาน(ฤดูแล้ง) พื้นที่บ่อสูบน้ำ = ไร่ อัตราการไหล = ลบ.ม/ชั่วโมง ค่าความต้องการใช้น้ำของพืช = ลบ.ม/ไร่/สัปดาห์ สูบน้ำวันละ = ชั่วโมง สูบน้ำสัปดาห์ละ = 5 วัน พื้นที่ชลประทาน = อัตราการไหล X ชั่วโมงการสูบน้ำ/วัน X จำนวนวัน /สัปดาห์ ความต้องการใช้น้ำของพืช (ไร่/สัปดาห์) =200 ลบ.ม /ชม x 10 ชม/วัน x 5 วัน/สัปดาห์ 80 ลบ.ม/ไร่/สัปดาห์ = 125 ไร่
22
คำนวณหา % ของพื้นที่เพาะปลูกในบ่อสูบน้ำใต้ดินที่ 10
คำนวณหา % ของพื้นที่เพาะปลูกในบ่อสูบน้ำใต้ดินที่ 10 = จำนวนพื้นที่ชลประทานที่คำนวณได้ x จำนวนพื้นที่ทั้งหมดของบ่อนั้น = 125 ไร่ x 100 350 ไร่ = 36 %
23
การหาพื้นที่ส่งน้ำแต่ระราย
= พื้นที่เกษตรกร x เปอร์เซ็นต์พื้นที่การส่งน้ำ การหาชั่วโมงสูบน้ำต่อพื้นที่ 1 ไร่ = ค่าการใช้น้ำของพืช อัตราการไหล = 80 ลบ.ม/สัปดาห์ 200 ลบ.ม/ชั่วโมง = ชั่วโมง/ไร่ หรือ 24 นาที/ไร่
24
SCHEDULE OF IRRIGATION
Ex. SCHEDULE OF IRRIGATION WELL No A1 Day Time 06.00 07.00 08.00 09.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 17.00 MONDAY MR.SOMKOUN MR.THAWAT TUESDAY MR.WEERA MRS.SOMPONG WEDNESDAY MRS.NANTANA THURSDAY MISS NONGNUT MR.SANAE FRIDAY MRS.JAMPEE MRS.THONGKAM MR.JAMLONG MRS.SANYA MR.SUKIT MR.ANAN MISS NONGNUT hour/week 4 hour/2week
26
การคิดค่ากระแสไฟฟ้า ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1
การคิดค่ากระแสไฟฟ้า ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1 จะเป็นการคิดค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำแบบเฉลี่ยรายเดือน ของสหกรณ์ผู้ใช้ใต้ดินสวรรคโลก จำกัด จำนวน 90 บ่อ และสหกรณ์นิคมพระร่วง จำกัด จำนวน 13 บ่อ สูตรที่ 1 กรณีที่มีการใช้น้ำจากบ่อสูบน้ำ ค่าน้ำที่เกษตรกรจะต้องจ่ายคิดได้ดังนี้ ก. ค่าน้ำ =(ผลรวมค่ากระแสไฟฟ้า–ค่าไฟฟ้าที่ผู้รักษาอาคารใช้) x ปริมาณน้ำที่เกษตรกรใช้แต่ละราย ปริมาณน้ำทั้งหมดจากทุกบ่อที่มีการสูบน้ำของแต่ละสหกรณ์ สูตรที่ 2 กรณีที่ไม่มีผู้ใช้น้ำจะต้องเฉลี่ยค่าบำรุงมิเตอร์ เท่ากับ บาท/เดือน/บ่อ ข. ค่าบำรุงมิเตอร์ = บิลค่ากระแสไฟฟ้า – ค่าไฟฟ้าที่ผู้รักษาอาคารใช้ จำนวนเกษตรกรทั้งหมดของแต่ละสหกรณ์
27
การคิดค่ากระแสไฟฟ้า ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2
การคิดค่ากระแสไฟฟ้า ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2 เป็นการคิดค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำของแต่ละบ่อ สูตรที่ 1 กรณีที่มีการใช้น้ำจากบ่อสูบน้ำ ค่าน้ำที่เกษตรกรผู้ใช้น้ำแต่ละรายจะต้องจ่ายคิดเป็นได้ดังนี้ ก. ค่าน้ำ = ( บิลค่ากระแสไฟฟ้า – ค่าไฟฟ้าที่ผู้รักษาอาคารใช้ ) x ปริมาณน้ำที่เกษตรกรใช้ ปริมาณน้ำทั้งหมดของบ่อสูบน้ำนั้น สูตรที่ 2 กรณีที่ไม่มีผู้ใช้น้ำจะต้องเฉลี่ยค่าบำรุงมิเตอร์ เท่ากับ บาท/เดือน ข. ค่าบำรุงมิเตอร์ = บิลค่ากระแสไฟฟ้า – ค่าไฟฟ้าที่ผู้รักษาอาคารใช้ จำนวนหัวจ่ายน้ำทั้งหมดในบ่อสูบน้ำนั้น
28
ตัวอย่างการคำนวณค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำ
ค่าน้ำ = ( บิลค่ากระแสไฟฟ้า – ค่าไฟฟ้าที่ผู้รักษาอาคารใช้ ) x ปริมาณน้ำที่เกษตรกรใช้ ปริมาณน้ำทั้งหมดของบ่อสูบน้ำนั้น เฉลี่ยค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบ = 0.43 บาท/ลบ.เมตร
29
Ex. Report On Jan No. Well No. Water pumping (m3) Cost of Electricity (Baht) Cost of Pump Operator (Baht) Remark 1 A01 5,231 2,137.97 Unit cost 2 A02 12,676 5,925.30 0.43 3 A03 9,049 3,895.85 Baht 4 B01 17,150 7,611.16 5 B02 2,300 888.67 Total of water pumping 6 B03 13,000 4,842.43 90 wells 7 B04 9,317 3,372.67 1,570,181 m3 8 B05 6,402 2,031.88 Total of Electricity 9 B06 5,270 2,309.28 679, ฿ 10 C01 19,700 9,538.88 11 C02 24,329 9,672.71 Totle cost of Pump Operator 12 C03 8,010 4,611.26 50.00 130 ฿ 13 C04 7,404 3,156.10 14 D17 24,888 11,417.45 15 D18 29,493 14,040.15 30.00 16 D19 28,235 8,874.56
30
Cost of Electricity (Baht)
Ex. Report On Jan NO. Well No. Farmer's Name Date Water pumping (m3) Cost of Electricity (Baht) Remark 1 A01-13 Miss Nongnut 25/2/2012 519 223.53 Unit cost of water 2 A01-06 Mr.Sukit 7/3/2012 261 112.41 0.43 3 10/3/2012 1,664 716.67 Baht 4 A01-11 Mrs.Sanya 11/3/2012 1,655 712.80 5 A01-12 Mrs.Sompong 24/2/2012 467 201.13 6 A01-02 Mr.Anan 665 286.41 7 A02-04 Mr.pratin 9/3/2012 1,070 460.84 8 A02-05 Mrs.Toom 1/3/2012 1,080 465.15 9 2/3/2012 10 3/3/2012 428 184.34 11 12 652 280.81 13 23/2/2012 328 141.27 14 A02-06 Mr.Kearn 1,071 461.27 X0.43
31
กลุ่มบริหารการใช้น้ำสวรรคโลกร่วมใจพัฒนา
กลุ่มบริหารการใช้น้ำพัฒนาคลองมะพลับ 50 บ่อ กลุ่มบริหารการใช้น้ำโซน2พัฒนา กลุ่มบริหารการใช้น้ำ หนองปลาหมอย่านยาว-คลองกระจง กลุ่มบริหารการใช้น้ำป่ากุมเกาะ-วังพิณพาทย์ร่วมใจ 24 บ่อ กลุ่มบริหารการใช้น้ำสองตำบลสามัคคีพัฒนา 29 บ่อ กลุ่มบริหารการใช้น้ำสวรรคโลกร่วมใจพัฒนา Irrigation Water Management Group
41
คุณภาพน้ำ
42
คุณภาพดิน
43
The End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.