งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ
ผศ.พ.ญ.สายพิณ หัตถีรัตน์ ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

2 Primary care Family medicine Primary care provider

3 Primary care คืออะไร

4

5

6 ประเภท ของเวชปฏิบัติ เวชปฏิบัติปฐมภูมิ บริการด่านแรก ดูแลต่อเนื่อง
เวชปฏิบัติตติยภูมิ โรคพบน้อย ต้องการการเฝ้าดูแล แพทย์เฉพาะโรค ประเภท ของเวชปฏิบัติ เวชปฏิบัติทุติยภูมิ นอนรักษาใน รพ. แพทย์ดูแลรักษา เวชปฏิบัติปฐมภูมิ บริการด่านแรก ดูแลต่อเนื่อง ดูแลผสมผสานทุกด้าน ประสานงานเป็นทีม

7 แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว
วิชาชีพไหน “หมอครอบครัว” แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว คนปฐมภูมิ คือ ใคร

8 ความรู้ เจตคติทักษะ จากวิชาชีพ จากเพื่อนสหวิชาชีพ จากงาน จากชีวิต
คนปฐมภูมิ คือ ใคร

9

10 ระบบนิเวศน์ของบริการทางการแพทย์
ประชากรผู้ใหญ่ 1000 เจ็บป่วยในช่วง 1 เดือน 750 เวชปฏิบัติปฐมภูมิ 1. บริการด่านแรก 2. ดูแลต่อเนื่อง 3. ดูแลทุกด้านแบบผสมผสาน 4. ประสานงานเป็นทีม พบแพทย์ปฐมภูมิ 250 9 นอนโรงพยาบาล 5 ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์ 1 ส่งต่อโรงเรียนแพทย์ White KL. NEJM 1961;265(18):

11 จงวางแผนการดูแลสุขภาพประชากรต่อไปนี้ ประชากรชาว “A” มีดัชนีชี้วัดสุขภาพเทียบกับอัตราเฉลี่ยทั่วประเทศดังนี้ 2 x Perinatal dealth 3 x Teenage preg. 8 x TB infection 20 x STD infection 26 x Alcoholics 5 x Crime rate 6 x Suicidal rate 7 x Sexual assault 50% : Age < 25 yrs 60% Adult : Smoking 40% : Elementary education 40% : Unemployed

12 Family Medicine คืออะไร

13 เข้าใจโรค เข้าใจคน เข้าใจสุขภาพ
เข้าใจโรค เข้าใจคน เข้าใจสุขภาพ

14 รักษาโรค vs. รักษาคน

15

16 Bio-Psycho-Social Model of Health

17 คน คือ “ใคร”

18 ระบบควบคุมในธรรมชาติ
โลก ประเทศ วัฒนธรรม ชุมชน ครอบครัว บุคคล โรค (Disease) ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเพิ่มเติม วินิจฉัยแยกโรค ความเจ็บป่วย (Illness) ความคิด ความรู้สึก กิจกรรมที่ทำได้ ความคาดหวัง สมองและระบบประสาท ระบบอวัยวะอื่น เนื่อเยื่อ เซล โมเลกุล อะตอม อนุภาค Engel G. The clinical application of the biopsychosocial model. Am J Psychiatr 1980;137:535-44

19 “อาจารย์คะ หนูปวดท้องมา 4 ปี ไม่หายสักที หนูควรจะไปหาหมอคนไหนดีคะ”
“อาจารย์คะ หนูปวดท้องมา 4 ปี ไม่หายสักที หนูควรจะไปหาหมอคนไหนดีคะ” กินยาทั้ง omeprazole, antacid, etc. ไม่หาย Med ส่องกล้องแล้วปกติ ให้ยาไม่ดีขึ้น ศัลย์ U/S แล้วบอกปกติ ให้ยาไม่ดีขึ้น นรีเวช ตรวจภายในก็ปกติดี ไม่ใช่ condition ทาง Med, Surg, OBG แม่พาไปกินน้ำมนต์แล้วก็ไม่หาย

20 หญิง 28 ปี พนง.บริษัท Age 24 4 yrs ago Life Life after before sickness

21 7 yrs ago 11 yrs ago 4 yrs ago

22 หญิง 28 ปี พนง.บริษัท Functional dyspepsia
Somatic symptom disorder 4 years Couple violence, love affair Family of childbirth History of abortion, child loss Family history of divorce

23 ระบบควบคุมในธรรมชาติ
โลก ประเทศ วัฒนธรรม ชุมชน: BKK ครอบครัว: couple problem บุคคล โรค (Disease) Functional dyspepsia Somatic symptom disorder ความเจ็บป่วย (Illness) I: Malignancy F: pain, uncertain F: eat, sleep prob. E: need to control สมองและระบบประสาท ระบบอวัยวะอื่น เนื่อเยื่อ เซล โมเลกุล อะตอม อนุภาค Engel G. The clinical application of the biopsychosocial model. Am J Psychiatr 1980;137:535-44

24 การเข้าใจคนแบบองค์รวม
ชุมชน บทบาทผู้ป่วยในชุมชน แหล่งที่พึ่ง ระบบบริการสุขภาพ ที่ทำงาน โรงเรียน ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ครอบครัว ระบบครอบครัว วัยครอบครัว ปัญหาครอบครัว วิธีแก้ปัญหาของครอบครัว ที่พึ่งของครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาพ บุคคล ใคร อายุ อาชีพ ความเป็นมา ความเจ็บป่วย โรค

25 ทำไมคนไข้ทำตัวแบบนี้

26 Virginia Satir. The Personal Iceberg Metaphor.
รู้ตัว พฤติกรรม ความรู้สึก ไม่รู้ตัว การรับรู้และตีความ ความคาดหวัง ความปรารถนาลึกๆ Virginia Satir The Personal Iceberg Metaphor. ตัวตน

27 พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก ตัวตน ตัวตน การรับรู้
ความคาดหวัง ความคาดหวัง สิ่งปรารถนาลึกๆ สิ่งปรารถนาลึกๆ ตัวตน ตัวตน

28 เราจะช่วย “คน”ได้อย่างไร

29 สารที่ส่งมา : Verbal & non-verbal

30 Fact Feeling Perception

31 พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก ตัวตน ตัวตน การรับรู้
Difficult Patient Doctor พฤติกรรม พฤติกรรม ความรู้สึก ความรู้สึก การรับรู้ การรับรู้ ความคาดหวัง ความคาดหวัง สิ่งปรารถนาลึกๆ สิ่งปรารถนาลึกๆ ตัวตน ตัวตน

32 ทุกปัญหาแก้ได้ มองหาข้อดี >>> ปัญหา/โรค/ความผิดปกติ
คน ไม่ใช่ปัญหา โรค ก็ไม่ใช่ปัญหา วิธีรับมือหรืออยู่ร่วมกับโรค อาจเป็นปัญหา

33 เป้าในการให้คำปรึกษา
ให้เขามีความมั่นคงมั่นใจในตนเองมากขึ้น (self esteem) มีทางเลือกมากขึ้น ในทางที่ดีขึ้น (option) รับผิดชอบต่อตนเองให้ได้มากขึ้น (own responsibility) สอดคล้องกลมกลืนเพิ่มขึ้นในบริบทตนเอง (congruence)

34 เยียวยาใจเพื่อนมนุษย์
B Background เรื่องราวเป็นอย่างไร A Affect รู้สึกอะไรบ้าง T Trouble ปัญหาไหนหนักที่สุด H Handle หลุดมาได้อย่างไร E Empathy เข้าใจได้ว่าทำไมทุกข์

35 จิตบำบัดให้บวก เป็นไง ดีขึ้นไหม
ขยายภาพให้ใหญ่ “ทำอย่างไร” เป็นไง ดีขึ้นไหม “ทำอย่างไร จึงประคองไว้ได้” เหมือนเดิม แย่ลง “ผ่านมาได้อย่างไร” ตั้งเป้าใหม่ให้ทำได้

36 โรคเรื้อรัง คือ ตัวเรา ที่ไม่เที่ยง ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับมันอย่างมีความสุข เหมือนนิยายที่อ่านค้างไว้ ยังไม่ถึงตอนจบ

37 ฟังด้วยใจ ไม่ใช่ฟังด้วยหู
Care for all ฟังด้วยใจ ไม่ใช่ฟังด้วยหู

38


ดาวน์โหลด ppt เวชศาสตร์ครอบครัวกับคนปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google