ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยศิริพร เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
2
บริบท โรงพยาบาลอ่างทองเป็นโรงพยาบาลทั่วไป 324 เตียง
โรงพยาบาลอ่างทองเป็นโรงพยาบาลทั่วไป 324 เตียง ผู้ป่วยนอกเฉลี่ยวันละประมาณ 900-1,100 ราย คลินิกยาต้านไวรัสและคลินิกวัณโรคจัดเป็น One stop Clinic โดยเปิดให้บริการ - คลินิกวัณโรค ทุกวัน พฤหัสบดี น. - คลินิกยาต้านไวรัส วันจันทร์ที่1และ3 ให้บริการเจาะเลือด ตรวจ CD4 VL วันพุธที่ 1และ3 ให้บริการจ่ายยา
3
การ ผล ดำ เนิน งาน เอดส์ และ วัณ โรค โรง พยา บาล อ่าง ทอง
ปี 2555 , 2556 , 2557
4
ปัญหาและสาเหตุ พ.ศ. 2555-2557 โรงพยาบาลอ่างทองพบว่า ............
พ.ศ โรงพยาบาลอ่างทองพบว่า มีผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีร้อยละ 19.01 อัตราตายในผู้ป่วยกลุ่มนี้ร้อยละ 15.98 เสียชีวิตก่อนรับยาต้านไวรัสเอดส์ร้อยละ 6.10 สาเหตุเกิดจากผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีเหล่านี้ เข้าสู่ระบบการรักษาช้า ทำให้ระดับภูมิต้านทานลดลง มาก (CD4เฉลี่ย 39.47cell)
5
ผลการดำเนินงานเอดส์ 3 ปีย้อนหลัง
ปี 55 ปี 56 ปี 57 1.จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 69 78 65 2. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรค (รายใหม่ CXR+ซักประวัติทุกราย รายเก่าซักประวัติ ทุกครั้งที่มารพ.) 66 73 62 3. ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัด กรองวัณโรคพบป่วยวัณโรค 17 19 28
6
ผลการดำเนินงานวัณโรค 3 ปีย้อนหลัง
ปี 55 ปี 56 ปี 57 1.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปี 112 133 163 2.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาในปีได้รับการตรวจเลือดคัดกรองเอชไอวี 93 143 3.จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive (คิดร้อยละต่อผู้ป่วยทั้งหมด) 19.64 16.54 20.85
7
ผลการดำเนิน TB/HIV 3 ปีย้อนหลัง
ปี 55 ปี 56 ปี 57 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนการรักษาพบผลเลือดเอชไอวี positive ได้รับการตรวจ CD4 (คิดร้อยละต่อผู้ป่วย HIV positive) 72.72 76.47 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์การรักษา(คิดต่อจำนวนผู้ป่วย HIV positive) 77.27 86.36 82.35 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี ได้รับยาป้องกันโรคแทรกซ้อนตามแผนการรักษาตามเกณฑ์การรักษา (คิดต่อผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่จะต้องรับยา OI) 92.86 100 100 ผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวีได้รับยาต้านไวรัสภายใน 2-8 อาทิตย์ตามเกณฑ์ประเทศ (CD4<50 ภายใน 2 สัปดาห์, CD4> 50 ภายใน 2-8 สัปดาห์ ) 7 8 18 จำนวนผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี เสียชีวิตในปีที่ประเมิน 3 6 ค่ามัธยฐานระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัส Median time(วัน) 47 32 31 Median CD4 ของผู้ป่วยวัณโรคและเอชไอวี 84 71 95
8
กิจกรรมการพัฒนา ทบทวนสถานการณ์วัณโรคและโรคเอดส์ในโรงพยาบาลโดยทีมสหวิชาชีพ ทบทวนตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและโรคเอดส์ย้อนหลัง3 ปี ทบทวนแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ กำหนดให้มีผู้ประสานงานวัณโรคและโรคเอดส์เป็นบุคคลเดียวกัน กำหนดระยะเวลาในการเริ่มยาต้านไวรัสภายหลังรับการยารักษาวัณโรคจากเดิมภายใน 2-9 เดือน เป็น สัปดาห์
9
กิจกรรมการพัฒนา การรับรักษาผู้ป่วยเสมหะบวกในโรงพยาบาล 2 สัปดาห์
การคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน การทำงานร่วมกันของคลินิกวัณโรคและคลินิกยาต้านไวรัส เจ้าหน้าที่สามารถทำงานแทนกันได้ กำหนดให้มีเครือข่ายผู้ติดเชื้อ(ศูนย์องค์รวม)เพื่อติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชน ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
10
ปัจจัยที่ทำให้งานสำเร็จ
การทำงานเป็นทีมสร้างทีมงานที่เข้มแข็ง มีระบบ One Stop Service มีระบบรายงานที่สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่าง ครอบคลุม และมีคุณภาพ มีระบบขั้นตอนการทำงานที่เหมาะสม และมีมาตรฐาน
11
บทเรียนที่ได้รับ ความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพของทั้ง 2 คลินิกทำให้การทำงานประสบความสำเร็จ ความล่าช้าในการวินิจฉัยผู้ป่วยทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลง ผู้ป่วยจะเสียชีวิตได้เร็ว
12
ประเด็นการพัฒนาต่อเนื่อง
กำหนดให้มีศูนย์ส่งต่อผู้ป่วยไป PCU เพื่อติดตามการรักษาในชุมชน มุ่งเน้นระบบการติดตาม นิเทศงานในทุกระดับ ความร่วมมือระหว่าง อปท. และอาสาสมัครสาธารณสุข มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
13
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.