ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKittikawin Prasarttong ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
เรื่อง เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ รูปแบบการเรียน การสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับ นักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบปกติใน วิชาบัญชีอุตสาหกรรมสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 2 นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ จังหวัดชลบุรี
2
พัฒนาผู้เรียน ความสำคัญ บัญชีอุตสาหกรรม
จุดมุ่งหมายการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียน ความสำคัญ พัฒนา คุณภาพชีวิต สังคม ประเทศชาติ ให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ เข้าใจบัญชี ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
3
ปัญหา คุณภาพของผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ บันทึกบัญชีไม่เป็น
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ บันทึกบัญชีไม่เป็น บัญชีอุตสาหกรรม เจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรมไม่ดี การแก้ปัญหา วิธีสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD
4
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ เจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรมสูงขึ้น
งานวิจัย วิธีสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ เจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรมสูงขึ้น รายการปรับปรุงบัญชีในวันสิ้นงวดบัญชี
5
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD กับนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบปกติ 2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ที่เรียนโดยรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTAD กับนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบปกติ
6
ประชากร. ประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช
ประชากร ประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 3 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คนเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
7
จากตาราง พบว่าค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรม ของ
ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรม หลังการทดลอง ของนักเรียนในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ขนาดของ กลุ่มตัวอย่าง ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน t p (n) (X) (SD) (1- Tailed) กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม 50 25.69 19.16 4.21 3.99 7.553* .00 * p < .05 จากตาราง พบว่าค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรม ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ในกลุ่มทดลองที่สอนโดยรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิคSTADมีคะแนนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่สอน สอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
8
ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรม
หลังการทดลอง ของนักเรียนในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ขนาดของ กลุ่มตัวอย่าง ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน t p (n) (X) (SD) (1-Tailed) กลุ่มทดลองกลุ่มควบคุม 50 92.53 84.38 7.68 11.15 4.041* .00 * p < .05 จากตาราง พบว่าคะแนนเฉลี่ยของเจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรม ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ในกลุ่มทดลองที่สอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ ร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่สอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
9
สรุปผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีอุตสาหกรรม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ของกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบปกติ 2. เจตคติต่อวิชาบัญชีอุตสาหกรรม ของนักเรียนกลุ่มที่รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนโดยรูปแบบการเรียนแบบปกติ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.