งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ : ระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ Powerpoint Templates

2 ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ
วิสัยทัศน์กระทรวงฯ : คนไทยสุขภาพดีฯ Basic Package Strategic Focus Specific Issues P&P Curative 20 เป้าหมาย 3 กองทุน 5 กลุ่มวัย 61 เป้าหมาย โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ PPP Medical Hub ยาเสพติด ASEAN and International Health Border Health จังหวัดชายแดนภาคใต้ กทม.

3 เป้าหมายของกระทรวง 10 สาขา
1. หัวใจและหลอดเลือด 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ บรรลุ KPI 10 สาขา 4.ทารกแรกเกิด 5. จิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 10. NCD 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. การเมือง สนับสนุน

4 VISION แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
“ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ”

5 ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่
พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล

6 ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ (ต่อ)
ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

7 องค์การอนามัยโลก (WHO FCTC) ข้อ 14 การเลิกบุหรี่ และการบำบัดรักษา
กรอบอนุสัญญาว่าด้วย การควบคุมยาสูบของ องค์การอนามัยโลก (WHO FCTC) ข้อ 14 การเลิกบุหรี่ และการบำบัดรักษา

8 มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ
ตาม FCTC ข้อ 14 พัฒนาและเผยแพร่คู่มือฉบับครบถ้วน ครอบคลุมและเหมาะสม ซึ่งตั้งอยู่บนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ และทางปฏิบัติที่ดีที่สุด โดยคำนึงถึงสถานการณ์ของประเทศและลำดับความสำคัญก่อนหลัง และให้ใช้มาตรการต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเพื่อที่จะส่งเสริม การเลิกใช้ยาสูบ และการรักษา การติดบุหรี่ที่เพียงพอ 1

9 มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ
ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.1 ออกแบบ และดำเนินโครงการที่มี ประสิทธิภาพซึ่งมุ่งที่จะส่งเสริมการเลิกใช้ยาสูบในสถานที่ 2.2 รวบรวมการวินิจฉัยโรค และการรักษา การติดบุหรี่ ตลอดจนการให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกใช้ยาสูบไว้ในกลยุทธ์ แผนและโครงการด้านสาธารณสุขและการศึกษาแห่งชาติ

10 มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ
ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.3 จัดตั้งโครงการศูนย์ฟื้นฟูและอำนวยความสะดวกในการรักษาสุขภาพ เพื่อวินิจฉัยให้คำปรึกษา ป้องกัน และรักษาการติดบุหรี่ 2.4 ร่วมมือกับภาคีอื่นๆ เพื่อให้การรักษา การติดบุหรี่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาสามารถ เข้าถึงได้ง่าย และมีค่าใช้จ่ายไม่สูง มากนัก

11 แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2557
การป้องกันมิให้เกิดผู้บริโภคยาสูบรายใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้ผู้บริโภคลด และเลิกใช้ยาสูบ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดพิษภัยของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดควันบุหรี่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างเสริมความเข้มแข็งและพัฒนาขีดความสามารถ ในการดำเนินงานควบคุมยาสูบของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การควบคุมการค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผิดกฎหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 6 การแก้ปัญหาการควบคุมยาสูบโดยใช้มาตรการทางภาษี ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเฝ้าระวังและควบคุมอุตสาหกรรมยาสูบ ยุทธ์ศาสตร์ที่ 8

12 แผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบ
1. การพัฒนานโยบายและการบังคับใช้กฎหมาย - คณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ (คบยช.) - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ แกนเชื่อมประสาน เสริมพลัง ความเข้มแข็ง 3. การพัฒนาเครือข่าย และการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และบริการเลิกบุหรี่ - ภาคีรณรงค์ - สื่อมวลชน - องค์กรวิชาชีพสุขภาพ - Quitline (1600) 2. การพัฒนาวิชาการและระบบข้อมูลข่าวสาร - ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้ฯ มหิดล (ศจย.) แผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบใช้หลักสามเหลี่ยมเขยื่อนภูเขา ซึ่งต้องอาศัยความมื่อทั้งภาครัฐ ฝ่ายวิชาการ และ ภาคประชาสังคมในการร่วมกันดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบต่อไป

13 มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมาย
ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ มาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย / การปิดช่องว่างของกฎหมาย / ร่วมผลักดันร่างพระราชบัญญัติควบคุม การบริโภคยาสูบพ.ศ. …. สร้างความร่วมมือการทำงานเชิงรุกในการเฝ้าระวังควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน พัฒนาระบบบริการเลิกบุหรี่เพื่อลดปริมาณการบริโภคยาสูบ พัฒนาการสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์เพื่อควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วม

14 เป้าหมายสูงสุด การพัฒนาระบบการให้บริการ บำบัดผู้เสพยาสูบ

15 ช่วยลดทอนปัญหาจาก NCD ได้
ช่วยลดทอนปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ภาครัฐสามารถปกป้องชีวิตของคนไทยจาก การเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิตได้ ลดภาระโรคอันเกิดจากยาสูบได้ และลดการสูญเสีย การเจ็บป่วย เสียชีวิตของคนไทย ก่อนวัยอันควร จากโรคที่เกิดจากบริโภคยาสูบได้ ปกป้องชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทย

16 การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ
การเพิ่มความเข้มข้นเชิงนโยบายใน การควบคุมยาสูบ ดังนี้ 1. การขยายภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ 2. การปรับขึ้นเพดานภาษียาสูบ 3. การห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกประเภท ในทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างเคร่งครัด

17 การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ(ต่อ)
การจัดระบบบริการเลิกบุหรี่ให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยง่าย ดังนี้ มีนโยบายระบุที่ชัดเจนของภาครัฐ มีการสั่งการและประเมินผลจาก กระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานต้องมีการบูรณาการการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหลากหลายองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้การให้บริการนี้ มีประสิทธิภาพและได้ผลสำเร็จสูงสุด

18


ดาวน์โหลด ppt เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google