งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

KKU : แผนระยะยาว พ. ศ.2552- 2567 (2009-2024) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ.2552-2559) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ.2556- 2559) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "KKU : แผนระยะยาว พ. ศ.2552- 2567 (2009-2024) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ.2552-2559) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ.2556- 2559) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 KKU : แผนระยะยาว พ. ศ.2552- 2567 (2009-2024) SC@KKU : แผนระยะกลาง ( พ. ศ.2552-2559) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ.2556- 2559) CS@KKU : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ. 2557-2563)

3 1. จำนวนนักศึกษา ณ ภาคปลาย ปีการศึกษา 2555 จำนวน 1,700 คน จำแนกได้ดังนี้ ระดับปริญญาตรีจำนวน 1,400 คน ระดับปริญญาโทจำนวน 270 คน สัดส่วน 82:18 ระดับปริญญาเอกจำนวน 30 คน 2. จำนวนหลักสูตร 9 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีจำนวน 3 หลักสูตร ระดับปริญญาโทจำนวน 3 หลักสูตร ระดับปริญญาเอกจำนวน 3 หลักสูตร 60:40 ( ภายใน 2559)

4 3. จำนวนบุคลากร จำแนกได้ดังนี้ บุคลากรสายผู้สอนจำนวน 30 คน - ปฏิบัติงานจริงจำนวน 23 คน - ลาศึกษาจำนวน 7 คน บุคลากรสายสนับสนุนจำนวน 11 คน

5 สาระสำคัญของกรอบแผนระยะกลางคณะ วิทยาศาสตร์ พ. ศ. 2552-2559 และกรอบแผน ระยะยาว มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ.2552- 2567 แบ่งออกเป็น 4 ประเด็น ดังนี้  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ด้านการเรียน การสอนและการเรียนรู้  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : ด้านการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : ด้านการ ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : ด้านการบริหาร จัดการ ตอบสนองความเป็นนานาชาติ ( ตัวชี้วัดของ QS World University Ranking) และ ตอบสนองท้องถิ่น ตอบสนองความเป็นนานาชาติ ( ตัวชี้วัดของ QS World University Ranking) และ ตอบสนองท้องถิ่น

6 กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ 4 ยุทธศาสตร์หลักตามกรอบของแผนระยะกลาง คณะ (2552-2559) แผนระยะยาวของมหาวิทยาลัย (2552-2567) 4 ยุทธศาสตร์หลักตามกรอบของแผนระยะกลาง คณะ (2552-2559) แผนระยะยาวของมหาวิทยาลัย (2552-2567)

7 09.00-09.15 นำเสนอกรอบการ พัฒนาแผนภาคฯ 2020 09.15-10.30 ประชุมกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม + Break 10.30-12.00 กลุ่มย่อยนำเสนอกลุ่ม ละ 20-25 นาที 12.00-13.00 รับประทานอาหาร

8 1. ชื่อเสียงทางด้านวิชาการ (ACADEMIC REPUTATION) 40% 2. ชื่อเสียงจากบริษัทว่าจ้างบัณฑิต (EMPLOYER REPUTATION) 10% 3. การอ้างอิงของผู้เชี่ยวชาญ (CITATIONS PER FACULTY) 20% 4. อัตราส่วนของนักศึกษาต่อผู้เชี่ยวชาญ (FACULTY STUDENT) 20% 5. จำนวนนักศึกษานานาชาติ (INTERNATIONAL STUDENTS) 5% 6. จำนวนผู้เชี่ยวชาญนานาชาติ (INTERNATIONAL FACULTY) 5%

9 แบบเสนอแนวทางการดำเนินงาน การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติราชการคณะวิทยาศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2556 ให้บรรลุเป้าหมาย ( เฉพาะตัวชี้วัดของ QS World University Ranking) การจัดอันดับ Asian University Rankings โดยพิจารณาจากผลงานต่าง ๆ ดังนี้ เสนอแนวทางการดำเนินงานที่สนับสนุนให้เกิด ผลงาน 1. ผลผลิตด้านการวิจัยและนวัตกรรม รวม 60% 1.1 ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ใน ฐานข้อมูล Scopus ต่ออาจารย์และนักวิจัยประจำ 1.2 ร้อยละของจำนวนผลงานตีพิมพ์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ทั้งหมด ( ผลรวมถ่วงน้ำหนัก ) 1.3 ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง ( Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด 1.4 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร อนุ สิทธิบัตร 2. คุณภาพการเรียนการสอน รวม 20 % 2.1 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ ประจำที่ปฏิบัติงานจริง ( เกณฑ์นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวน อาจารย์ประจำให้เป็นไปตามที่ สกอ. กำหนดให้ในแต่ละกลุ่ม สาขาวิชา )

10 การจัดอันดับ Asian University Rankings โดยพิจารณาจากผลงานต่าง ๆ ดังนี้ เสนอแนวทางการดำเนินงานที่สนับสนุน ให้เกิดผลงาน 2.2 ร้อยละจำนวนอาจารย์ปริญญาเอกต่อจำนวน อาจารย์ประจำทั้งหมด หรือ ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของ อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ ผ่านมา 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ หรือ ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกัน เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 2.4 สัดส่วนนักศึกษาระดับปริญญาตรีกับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา 3. ภาวการณ์ได้งานทำของบัณฑิต 10 % 3.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ( ผลของนักศึกษาจบปี การศึกษา 2554) 3.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำ ตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา ( ผลของนักศึกษาจบปี การศึกษา 2554) 3.3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ( ผลของ นักศึกษาจบปีการศึกษา 2553)

11 การจัดอันดับ Asian University Rankings โดยพิจารณาจากผลงานต่าง ๆ ดังนี้ เสนอแนวทางการดำเนินงานที่ สนับสนุนให้เกิดผลงาน 4. ความเป็นนานาชาติ รวม 10 % 4.1 ร้อยละของจำนวนนักศึกษาชาวต่างชาติต่อ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 4.2 ร้อยละของจำนวนอาจารย์ชาวต่างชาติต่อ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด 4.3 ร้อยละของจำนวนผู้เชี่ยวชาญอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีจากต่างประเทศ (Visiting international faculty inbound ) ต่อจำนวน อาจารย์ประจำทั้งหมด 4.4 จำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนมาจาก ต่างประเทศ 4.5 จำนวนนักศึกษาที่ไปแลกเปลี่ยนใน ต่างประเทศ 4.6 จำนวนหลักสูตรนานาชาติ / ภาษาอังกฤษ 4.7 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาและจัดทำ เว็บไซต์ภาษาอังกฤษ

12 ทิศทางของภาควิชา 2020 ประเด็นความเสี่ยง – คุณภาพนักศึกษา ( โดยเฉพาะระดับปริญญาตรี - โท ) – รายได้ของภาควิชา ( โดยเฉพาะเงินรายได้จาก โครงการพิเศษ ทั้ง ตรี - โท ) จำนวนนักศึกษาที่สมัคร แนวโน้มลดลง กลยุทธ์ – พัฒนาหลักสูตรให้สามารถป้องกันความเสี่ยง หลักสูตรเพื่อพัฒนาผลงานวิชาการ หลักสูตรเพื่อสร้างรายได้

13


ดาวน์โหลด ppt KKU : แผนระยะยาว พ. ศ.2552- 2567 (2009-2024) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ.2552-2559) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ.2556- 2559) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google