การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

2 10. ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.1 ความหมายของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.2 แนวคิดของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 10.3 พัฒนาการของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ

3 10.4 ลักษณะของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 10.5 ระดับของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 10.6 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ของความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ

4 10.1 ความหมายของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศเป็นการดำเนิน กิจกรรมร่วมกันระหว่างองค์การ สารสนเทศตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป ที่มีเป้าหมายในการแลกเปลี่ยน สารสนเทศหรือทรัพยากร สารสนเทศ

5  มีการกำหนดเป้าหมายและ วางแผนเพื่อการสร้าง สัมพันธภาพและบริการร่วมกัน  เปลี่ยนจากการเน้นความเป็น เจ้าของทรัพยากรสารสนเทศ ของสถาบันบริการสารสนเทศ ไปสู่การใช้ทรัพยากร สารสนเทศร่วมกัน และการ ส่งเสริมการเข้าถึงสารสนเทศ ของผู้ใช้อย่างกว้างขวาง

6 10.2 แนวคิดของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่ สามารถแบ่งปันกันได้  เพื่อการใช้สารสนเทศให้เกิด ประโยชน์สูงสุดและกว้างขวาง ที่สุด  เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกัน ในการเข้าถึงสารสนเทศของ มนุษย์ทุกคน

7 10.3 พัฒนาการของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  เริ่มจากกิจกรรมยืมระหว่าง ห้องสมุดซึ่งปรากฏหลักฐานว่า เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ยุคอียิปต์ โบราณ  ทศวรรษ 1960 เกิด สภาพการณ์การท่วมท้นของ สารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมี ราคาสูงขึ้นมาก

8 จึงรวมตัวกันจัดตั้ง “ เครือข่าย ห้องสมุด (Library Network)”  ทศวรรษที่ 1990 ได้รวมตัว กันจัดตั้ง “ ภาคีห้องสมุด (Library Consortium)” เพื่อ การต่อรองกับผู้จัดจำหน่าย เรื่องราคาและเงื่อนไขการใช้ สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

9 10.4 ลักษณะของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ 1) ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศอย่างเป็นทางการ ( มีการจัดทำข้อตกลงเป็นลาย ลักษณ์อักษร จดทะเบียนในรูป นิติบุคคล ) 2) ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศอย่างไม่เป็น ทางการ

10 10.5 ระดับของความร่วมมือ ในการบริการสารสนเทศ 1) ความร่วมมือระดับท้องถิ่น 2) ความร่วมมือระดับชาติ 3) ความร่วมมือระดับภูมิภาค 4) ความร่วมมือระดับ นานาชาติ

11 1) ความร่วมมือระดับ ท้องถิ่น  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่ตั้งอยู่ในท้องถิ่น เดียวกัน  คำว่า “ ท้องถิ่น ” หมายถึง เขตอาณาบริเวณที่แต่ละ ประเทศใช้แบ่งพื้นที่เพื่อ ประโยชน์ทางการปกครอง เช่น มลรัฐ เมือง จังหวัด อำเภอ เป็นต้น

12  ตัวอย่างของความร่วมมือ ระดับนี้ เช่น เครือข่าย ห้องสมุดมลรัฐอลาสกา เครือข่ายสารสนเทศ นครราชสีมา เป็นต้น

13 2) ความร่วมมือระดับชาติ  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศประเภทเดียวกัน หรือสาขาวิชาเดียวกันที่ตกลง ดำเนินงานร่วมกันอย่าง กว้างขวาง ทั่วทั้งประเทศ ทั่วทั้งประเทศ

14  ตัวอย่างของความร่วมมือ ระดับนี้ เช่น เครือข่าย ห้องสมุดวิจัยเพื่อการศึกษา วิชาทหาร เครือข่าย ห้องสมุดแพทย์แห่งชาติ ข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) เครือข่าย ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เอกชน เป็นต้น

15 3) ความร่วมมือระดับ ภูมิภาค  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่ตั้งในเขตภูมิภาค เดียวกัน เช่น ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้หรือภูมิภาค เอเชียและแปซิฟิก  ตัวอย่าง : เครือข่ายสารสนเทศ ด้านการแพทย์ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMIC)

16 4) ความร่วมมือระดับ นานาชาติ  เป็นความร่วมมือขององค์การ สารสนเทศที่มีขอบเขตความ ร่วมมือกว้างขวางทั่วโลก  ตัวอย่าง : เครือข่าย OCLC เครือข่ายสารสนเทศทาง การเกษตรนานาชาติ (AGRIS) เครือข่ายห้องสมุด ระดับโลกด้านการบริหารงาน ยุติธรรม (WCJLN)

17 10.6 ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จของความ ร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ  ผู้บริหารระดับสูง : เห็นความ จำเป็นและประโยชน์ระยะยาวที่ เกิดจากความร่วมมือกำหนด นโยบาย หาแหล่งเงินทุน สนับสนุน มีความคิดสร้างสรรค์

18  ผู้ปฏิบัติงาน : ยินดีและ พอใจที่จะยอมรับการ เปลี่ยนแปลง มีทัศนคติใน ทางบวก  ผู้ใช้ : ต้องได้รับข้อมูลที่ ถูกต้อง ชัดเจนเกี่ยวกับ บริการที่สามารถใช้ได้จาก องค์การสารสนเทศอื่นที่มี ข้อตกลงร่วมกัน


ดาวน์โหลด ppt การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google