งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-1 หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด ความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม   การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

2 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-2 ถ้าต้องการให้โวลต์มิเตอร์ วัดแรงดันไฟฟ้าได้ค่า มากขึ้นจะต้องทำอย่างไร ? a 3 2 6 9 kW COM W ถ้าต้องการให้โอห์มมิเตอร์วัดความต้านทานไฟฟ้าได้ค่ามากขึ้นจะต้องทำอย่างไร ? การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

3 สเกลของโอห์มมิเตอร์กำหนดได้อย่างไรและมีขั้นตอนอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-3 สเกลของโอห์มมิเตอร์กำหนดได้อย่างไรและมีขั้นตอนอย่างไร? กำหนดจากส่วนกลับของค่า Iเพราะว่า R แปรผกผันกับ I ซึ่งเป็นไปตามกฎของโอห์ม 0W aW Rx Ix สเกลของโอห์มมิเตอร์แบบขนาน 0W aW Iy1 Rx1 สเกลของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมและผสม การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

4 วงจรของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-4 วงจรของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมประกอบด้วยอะไรบ้าง? N s Rs Rz E1 Rm Rs Rz E1 + - การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

5 ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-5 การกำหนดสเกล ของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มีขั้นตอนอย่างไร? 1. ลัดวงจรที่ปลายสายวัด Rm Rs Rz E1 + - Im ImRm + ImRs + ImRz = E1 Im (Rm + Rs + Rz) = E1 (Rm + Rs + Rz) = E1/Im Rz = E1/Im - (Rm + Rs) เพื่อหาค่า Rz การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

6 เพื่อหาค่า Rx ที่ตำแหน่ง Ixค่าต่างๆ (Ix เป็นกระแสไฟฟ้าใดๆ บนสเกล)
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-6 2. ต่อ Rx ที่ปลายสายวัด Rm Rs Rz E1 + - Ix Rx IxRm + IxRs + IxRz + IxRx = E1 Ix (Rm + Rs + Rz + Rx) = E1 (Rm + Rs + Rz + Rx) = E1/Ix Rx = E1/Ix - (Rm+ Rs +Rz) เพื่อหาค่า Rx ที่ตำแหน่ง Ixค่าต่างๆ (Ix เป็นกระแสไฟฟ้าใดๆ บนสเกล) การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

7 การกำหนดตำแหน่ง Ix ให้
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-7 การกำหนดตำแหน่ง Ix ให้ กำหนดตั้งแต่ 100% ถึง 0% Rm Rs Rz E1 + - Ix Rx Ix = % Im Ix = (90 %… 10 %) Im Ixสุดท้าย = 0 % Im การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

8 การขยายย่านวัดของ โอห์มมิเตอร์ มีหลักการอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-8 การขยายย่านวัดของ โอห์มมิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? การทำให้โอห์มมิเตอร์สามารถวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าได้มากหรือกว้างขึ้นกว่าเดิม หลักการในการขยายย่านวัด 1. ลดความต้านทานไฟฟ้า ภายในวงจรของโอห์มมิเตอร์ 2. เพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ แหล่งจ่ายไฟฟ้าของ โอห์มมิเตอร์ การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

9 การขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์มีหลักการอย่างไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-9 การขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์มีหลักการอย่างไรบ้าง? 1. ลดค่าความต้านทานไฟฟ้าภายใน ของโอห์มมิเตอร์ 2. เพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ แหล่งจ่ายไฟฟ้าภายในของโอห์ม มิเตอร์ เนื่องจากโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมไม่สามารถลดค่าความต้านทานภายในได้ (เพราะว่าเป็นวงจรแบบอนุกรม) ดังนั้นจึงขยายย่านวัดโดยการเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้าเท่านั้น การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

10 วงจรการขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-10 วงจรการขยายย่านวัดของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม ประกอบด้วยอะไรบ้าง? Rm Rs Rz E1=3V + - E2=30V 0W aW 0.75 2.0 4.5 12.0 7.5 20 45 120 E2> E1 เป็น 10 เท่าทำให้ตัวเลขกำกับสเกลห่างกัน 10 เท่า ถ้าสเกลบนเป็น Rx1 สเกลล่างจึงเป็น Rx10 การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ

11 วงจรมัลติมิเตอร์ที่สามารถวัด V, A และ W ได้อย่างละ 1 ย่านวัด
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 10 แผ่นที่ 10-11 มัลติมิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เช่น วัด V, A, W Rm Rs Rz V + - E1 A W Rs1 Rsh วงจรมัลติมิเตอร์ที่สามารถวัด V, A และ W ได้อย่างละ 1 ย่านวัด การขยายย่านวัดความต้านทานไฟฟ้าของโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรม มงคล ธุระ


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google