งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106

2 ประวัติ ผู้ลี้ภัย หมายถึง บุคคลที่จากที่อยู่ของตนโดยถูกบีบบังคับจากเหตุการณ์ที่ตน ไม่มีอำนาจควบคุม เช่น ภัยแห่งสงคราม การบุกรุกของชาติอื่น หรือภัยธรรมชาติ ทำให้ต้องเปลี่ยนสถานที่อยู่ ผู้ลี้ภัยมักจะเป็นผู้ลี้ภัยทางการเมืองเสียส่วนใหญ่ การลี้ภัยแบ่งเป็น 2 พวก 1. พวกที่ถูกบังคับให้หนีภัย เช่น ในปีคศ.1915 รัฐบาลเชโกสโลวาเกียขับไล่ชาวเยอรมันในแคว้นโชเดเต็น 2. พวกหนีโดยความสมัครใจจากเหตุการ์ณการเมืองบีบบังคับ

3 คุณสมบัติของผู้ลี้ภัย 1. อยู่นอกประเทศที่ตนมีสัญชาติ ( ถ้าเป็น บุคคลไร้สัญชาติให้ถือประเทศที่ตนมีถิ่นที่ อยู่ประจำแทน ) 2. โดยความกลัวว่าอาจจะถูกประหาร เนื่องจากสาเหตุข้อหนึ่งข้อใด เช่น เชื้อ ชาติ ศาสนา สัญชาติ สมาชิกภาพในกลุ่ม ทางสังคม สมาชิกภาพในกลุ่มความคิด ทางการเมือง 3. เนื่องจากความกลัวนั้นไม่สามารถหรือไม่ สมัครใจที่จะได้รับความคุ้มครองจาก ประเทศที่ตนมีสัญชาติ

4 สถานภาพของผู้ลี้ภัยสิ้นสุดลงเมื่อ 1. ได้ใช้สิทธิ์โดยสมัครใจเพื่อความคุ้มครองจากรัฐที่ตนมีสัญชาติ 2. ได้รับสัญชาติเดิมที่สูญเสียไปกลับคืนมาด้วยความสมัครใจ 3. ได้รับสัญชาติใหม่และได้รับความคุ้มครองจากรัฐนั้น 4. สมัครใจกลับไปตั้งถิ่นที่อยู่ในรัฐที่ตนได้จากมาหรือรัฐอื่นที่ตน อยู่ภายนอก 5. เป็นบุคคลที่ไม่สามารถปฎิเสธสิทธิจากความคุ้มครองของรัฐที่ตนมี สัญชาติได้เนื่องจากสถานการณ์ที่ทำให้ถือว่าบุคคลนั้นเป็นผู้ลี้ภัย สิ้นสุดลง 6. เป็นบุคคลไร้สัญชาติซึ่งสามารถกลับสู่รัฐที่ตนมีถิ่นที่อยู่ได้

5 ประเทศไทยกับปัญหาผู้ลี้ภัย ปัญหามีอยู่ว่าไทยจำเป็นต้องรับผู้ลี้ภัยหรือไม่ต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์เรื่องที่มี ของกฎหมายระหว่างประเทศ ข้อแรกคือพิจารณาว่าอนุสัญญานี้เป็นความตกลงระหว่าง ประเทศซึ่งประเทศไทยเป็นภาคีอนุสัญญาหรือไม่ ข้อสองพิจารณาว่าเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศหรือเป็น หลักกฎหมายทั่วไปที่ประเทศต่างๆที่เจริญแล้ว ยอมรับหรือไม่ความจริงแล้วไทยไม่ได้เป็นภาคีอนุสัญญาและมิได้ยอมรับหลักเกณฑ์ เรื่องผู้ลี้ภัยแต่อย่างใด ไม่มีกฎหมายไทยฉบับใดระบุถึงผู้ลี้ภัยจึงไม่ใช่เป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศ และมิใช่หลักกฎหมายทั่วไป

6 ผู้ลี้ภัย

7 ค่ายผู้ลี้ภัย


ดาวน์โหลด ppt ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google