ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKaan Praves ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
2
ประเด็นที่นำเสนอ - สถานการณ์โรคไข้เลือดออก - สถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญ - ตัวอย่างการสอบสวนโรคที่สำคัญ - การแจ้งข่าว
3
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ณ 20 มิถุนายน 2557
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ณ 20 มิถุนายน 2557
4
เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก จังหวัดนครปฐม
เดือนมิถุนายน 2557 กับ เดือนมิถุนายน 2556 อัตราต่อปชกแสนคน
5
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก
6
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดนครปฐม
ผู้ป่วยสะสม 212 ราย (เสียชีวิต 2 ราย) อัตราป่วยเป็นอันดับที่ 18 ของประเทศไทย จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย. 57)
7
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 25 มิ.ย. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
8
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2557 จำแนกตามพื้นที่
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 25 มิ.ย. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
9
จำนวน (ราย) อัตราป่วยต่อแสน 66 23.81 8 2.89 68 63.67 6 5.62
ตารางที่ จำนวนและอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม พื้นที่ ยอดสะสม ปี 2557 (1 ม.ค. 57 – 20 มิ.ย. 57) เดือนมิถุนายน 2557 (20 พ.ค.57–20 มิ..ย 57) จำนวน (ราย) อัตราป่วยต่อแสน อำเภอเมือง 66 23.81 8 2.89 อำเภอกำแพงแสน 26 20.74 2 1.60 อำเภอนครชัยศรี 68 63.67 6 5.62 อำเภอดอนตูม 4.20 0.00 อำเภอบางเลน 11 13.43 1 1.22 อำเภอสามพราน 37 (ตาย 2 ราย) 21.96 3 1.78 อำเภอพุทธมณฑล 6.31 รวม 212(ตาย 2 ราย) 25.26 20 2.38 ที่มา : บัตรรายงานผู้ป่วยโรคเฝ้าระวัง (รง.506/507) งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐม (ข้อมูล ณ 24 มิถุนายน 2557)
10
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม
จำแนกตามกลุ่มอายุ (ข้อมูล ณ 25 มิย 57) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
11
พื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมากกว่า 2 ราย (ในช่วง 1 มกราคม 2557 – 20 มิถุนายน 2557)
13
มาตรการสำคัญในการจัดการไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2557
รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ ร่วมมือ ร่วมจิต ช่วยชีวิตผู้ป่วย เฝ้าระวังสถานการณ์ จำนวนผู้ป่วย(ราย) โรงเรือน/ โรงเรียน/ โรงงาน/โรงพยาบาล/โรงธรรม ปิด-เปิด-กลางเทอม ตะไคร้หอมทากันยุง อสม.นำชุมชน ครม.สนับสนุน เตรียมพร้อมทีมแพทย์ ทุก รพ. จัดแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษา การจัดทำ DENGUE CORNER จัดหาสำรองเวชภัณฑ์ แนะนำกลุ่มเสี่ยงรีบมา รพ. เฝ้าระวังโรคในช่วงปลายปี เพื่อแจ้งเตือนการระบาด สรุปบทเรียนการดำเนินงาน สื่อสารความเสี่ยง สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน มีเวลาทอง เพียง 2-3 เดือน เปลี่ยนพื้นที่เสี่ยงสูงเป็น ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI<10,CI=0) คาดการณ์จำนวนผู้ป่วย มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ( ) คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย
14
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก
15
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม
จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย. 57)
16
ตารางที่ 2 ตำบลที่กำลังพบการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม
ตารางที่ ตำบลที่กำลังพบการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก จังหวัดนครปฐม (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2557) อำเภอ ตำบล เมืองนครปฐม พระปฐมเจดีย์ บางแขม ตาก้อง ดอนยายหอม บ่อพลับ นครปฐม วังตะกู หนองปากโลง หนองดินแดง โพรงมะเดื่อ ลำพยา ทัพหลวง หนองงูเหลือม บ้านยาง กำแพงแสน ทุ่งกระพังโหม กระตีบ ทุ่งลูกนก ทุ่งกระพังโหม ห้วยขวาง ทุ่งขวาง ทุ่งบัว กำแพงแสน ห้วยม่วง รางพิกุลหนองกระทุ่ม วังน้ำเขียว นครชัยศรี แหลมบัว ศรีมหาโพธิ์ ห้วยพลู วัดละมุด บางแก้วฟ้า ลานตากฟ้า ดอนตูม สามง่าม ห้วยพระ ห้วยด้วน บางเลน บางเลน บางปลา บางไทรป่า สามพราน ท่าข้าม บางกระทึก ไร่ขิง ท่าตลาด คลองใหม่ อ้อมใหญ่ พุทธมณฑล ศาลายา คลองโยง
17
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครปฐม จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 มิ.ย 57)
18
ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1
ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1 เพศชาย อายุ 19 ปี สูง 176 ซม. น้ำหนัก 106 กิโลกรัม อยู่หมู่ที่ 10 ตำบลท่าตลาด อำเภอสามพราน เริ่มป่วยเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ อาการไข้ ปวดศีรษะ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 ไปรักษาที่คลินิกแห่งหนึ่งของ อ.สามพราน มีอาการ ไข้ ไอ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2557 อาการไม่ดีขึ้น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ จึงไปรับการรักษาที่คลินิก เอกชนอีกแห่งหนึ่ง แพทย์เจาะ Lab
19
ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตรายที่ 1
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 8.00 น. ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก จึงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสามพราน (BP 100/60 มม.ปรอท T 36 องศาเซลเซียส P 120 ครั้ง/นาที R 24 ครั้ง/นาที ผล X ray ปอดปกติ ผลการตรวจคลื่นหัวใจ ปกติ) CBC (9มีค57):WBC = Hct =61.9 % Plt =11,000 แพทย์ได้ส่งต่อเข้ารับการรักษา ที่ โรงพยาบาลนครปฐม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา น. ผู้ป่วยเสียชีวิต วินิจฉัยครั้งสุดท้ายเป็นโรคไข้เลือดออกช็อก
22
ผู้ป่วยเสียชีวิตรายที่ 2
เพศหญิง อายุ 2 ปี 11 ด อยู่ที่หมู่บ้านเอื้ออาทรสาย 5 หมู่ที่ 13 ตำบลไร่ขิง
23
Admit รพ.สามพราน 19/2/57 – 21/2/57 และส่งตัวรักษาต่อ รพ. ทั่วไป
อาการสำคัญ: ไข้สูง 1 วัน ก่อนมา รพ. ประวัติปัจจุบัน: - 1 วัน ก่อนมา รพ. มีไข้ ไอมีเสมหะ นานๆครั้ง มีน้ำมูกใส กินได้น้อยลง ไม่มีอาเจียน อุจจาระปกติ ปัสสาวะปกติ กินยาลดไข้มา 13.00น. ไข้ยังไม่ลงจึงมา รพ. ประวัติอดีต: ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีแพ้ยา ตรวจร่างกายแรกรับ: นน.ปกติ มีไข้
24
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 เข้ารับการรักษาที่รพ.สามพรานเป็นผู้ป่วยใน
wbc 5,000 n 13% L73% Aty 4% plt 79,000 Hct 33.8 (21 กพ 57) wbc 7,750 Neu 7%Lym 85% Aty 6% plt 40,000 Hct33.8) จึงต่อไปรับการรักษาที่รพ.นครปฐม วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เวลา น. เสียชีวิต
30
สรุปผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต 2 ราย อายุ 19 ปี และ 2 ปี
สรุปผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต 2 ราย อายุ 19 ปี และ 2 ปี ไปคลินิก 2 ครั้งๆ ละแห่ง 1 ราย ไปรพ.รัฐ 1 ราย ระยะเวลาจากวันเริ่มป่วย..ถึงวันสงสัย รายแรก 4 วัน รายที่ 2 ไม่แน่ใจ ???? 2 หรือ 3 รายแรกผู้ป่วยไม่ใช่รายแรกของบ้าน สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
32
ประเด็นข้อสังเกต /ปัญหาที่พบ
1. จะมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง 2. การระบาดจะยังเป็นพื้นที่ที่มีการจัดการยาก มีการคมนาคมสะดวก เช่น ต.พระปฐมเจดีย์ ต.ดอนยายหอม ต.ธรรมศาลา 3.สภาพแวดล้อม มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เหมาะสมต่อการมีลูกน้ำ
33
ขอบคุณค่ะ Darunee Phosri
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.