ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนน ปี พ.ศ.2545 – 2556 (ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : สนย. ปัญหา : 1. NCDs อุบัติเหตุทางถนน และโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แนวโน้มอัตราตายจากโรค NCDs อุบัติเหตุยังคงเพิ่มขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 3. GAP เรื่องศักยภาพบุคลากร CVD risk assessment และคลินิก NCD คุณภาพ
2
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดหัวใจในผป
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดหัวใจในผป. HT & DM ของเขต 4, 2, 3 ค่อนข้างสูงกว่าเขตอื่นๆ และพบภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วย DM ค่อนข้างสูงในทุกเขต โดยเฉพาะในเขต 1, 2, 5, 7, 8, 10, 11 และในผู้ป่วย HT พบภาวะแทรกซ้อนทางไตค่อนข้างสูงในเขต 7, 8 , และ 10
3
มาตรการการดำเนินงาน ปี 2558 กลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย วิธีการวัด งบประมาณ 1. สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร บูรณาการตำบลจัดการสุขภาพ(NCD อุบัติเหตุ) บูรณาการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน DHS - สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ - บังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่ ) - สื่อสารความเสี่ยง (3อ 2ส 3ม 2ข 1ร) - การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (มะเร็งและความเสี่ยงจากการทำงาน) 2.พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ (+บูรณาการ บริการDPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา และบริการอาชีวอนามัย) 3.มาตรการสนับสนุน -พัฒนาระบบข้อมูล บริหารจัดการ และ M&E 1.ลดความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง( NCD env-occ อุบัติเหตุ) 2.ลดอัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 50 ภายในปี 2563 3.ลดอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี การสำรวจ BRFSS ทุก 3 ปี รายงานผลการดำเนินการตามกฎหมายแรงงาน ระบบรายงานการเสียชีวิตจากฐานมรณะบัตร (สนย.) 28.57 ลบ. (สบรส ลบ. ) 23.15 ลบ. 6.00 ลบ. (สบรส ลบ. )
4
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงาน
ระดับกระทรวง อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ในปี 2558 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี ( ) ระดับเขต อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ลดลงร้อยละ14 จากค่าตั้งต้นมัธยฐาน 3 ปี ( ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 และ 50 ตามลำดับ) ระดับจังหวัด ร้อยละของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 ที่มีค่า Probability of Survival (Ps) > และรอดชีวิตหลังการดูแลรักษา (มากกว่าร้อยละ 98.5) รพศ./รพท. และ รพช. ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) และมีความเสี่ยงสูงมาก ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับยาในการรักษาเพื่อลดความเสี่ยง (ร้อยละ 50) ข้อเสนอตัวชี้วัด ในปี 2558 แยกเป็นระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด
5
สิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน
คู่มือ แหล่งสืบค้น 1.คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558 2.คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 และพรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 3. คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ 2557 4. แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ปีพ.ศ.2558 5. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.