ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
2
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
1. การบริหารจัดการงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ต้องมีขอบเขตพื้นที่ดำเนินการชัดเจน มีการบูรณาการพื้นที่ คน สินค้า เข้าด้วยกัน มีเป้าหมายในการพัฒนา ใช้หลัก win-win situation ในการทำงานร่วมกันกับทุกหน่วยงาน สร้างต้นแบบ smart extension officers ในทุกอำเภอ และงานส่งเสริมการเกษตรโดยใช้รูปแบบ MRCF
3
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
2. การบริหารจัดการข้อมูล ต้องทำงานบนพื้นฐานของข้อมูลที่ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบได้ และเป็นที่เชื่อถือยอมรับ สามารถจัดทำและใช้ข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลแผนที่ และการเข้าถึงข้อมูลของนักส่งเสริมการเกษตรสามารถทำได้โดยสะดวก
4
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
3. การบริหารจัดการองค์กร เขตจะเป็นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิบัติงานในพื้นที่แทนกรม พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน เป็นผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ และเป็น Smart Extension Officers ปรับวิธีการทำงานให้เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานในพื้นที่และการทำงานกับเครือข่ายและองค์กรเกษตรกรต่างๆ มีการสื่อสารกันมากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใช้การสื่อสารระยะไกล และการสื่อสาร 2 ทาง
5
ระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF System)
6
นักส่งเสริมการเกษตร ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent ) Smart Extension Officers มีอัตลักษณ์ของนักส่งเสริมการเกษตร ใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในลักษณะ Win-Win Situation
7
Model การใช้ MRCF 1. เกษตรกรได้รับบริการตามความต้องการ
การผลิตสินค้าเกษตรได้รับการพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพ (ต้นทุน/ผลผลิต/คุณภาพ) ปรับเปลี่ยนการผลิต/ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกร/องค์กรเกษตรกรได้รับการพัฒนา มีความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ 1. เกษตรกรได้รับบริการตามความต้องการ 2. พื้นที่ได้รับการพัฒนาตามศักยภาพ Community Participation กระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม Remote Sensing Specific Field Service Mapping นักส่งเสริมการเกษตร
8
M : Mapping (การจัดทำและใช้ข้อมูลแผนที่)
การทำงานบนพื้นฐานของข้อมูล จัดการข้อมูลให้เป็นรูปธรรม จับต้องได้ (จากข้อมูลเชิงตารางเป็นข้อมูลเชิงตำแหน่งในแผนที่) มีข้อมูล กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม มีแผนที่ เชื่อมโยงข้อมูลกับแผนที่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในการกำหนดเป้าหมายการทำงาน วางแผนพัฒนา / แก้ปัญหา
9
การนำแผนที่และข้อมูลต่างๆมาซ้อนทับกัน เช่น
Overlay การนำแผนที่และข้อมูลต่างๆมาซ้อนทับกัน เช่น แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ดิน แผนที่แม่น้ำ แผนที่ชลประทาน แผนที่ขอบเขตการปกครอง ข้อมูลต่างๆ 3.ข้อมูล overlay วิเคราะห์ว่าอย่างไร ถ้าเราไม่ทำอะไรก็จะพบการระบาดอีก (คำตอบที่ได้ ต.ดอนเจดีย์เป็นตำบลปลอดเพลี้ย) Out put
10
R : Remote Sensing (ข้อมูลและการสื่อสารระยะไกล)
ประสานและให้บริการเกษตรกรด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลจากระยะไกล นักส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลหรือติดต่อสื่อสารได้จากระยะไกล สำรวจข้อมูลและติดตามสถานการณ์
11
เจ้าหน้าที่ โรคพุ่มไม้กวาด สาเหตุเกิดจากเชื้อมายโคพลาสมา แพร่ระบาดโดยการตอนกิ่งลำไยจากต้นที่เป็นโรค โรคนี้มีแมลงพวกเพลี้ยจั๊กจั่นสีน้ำตาลเป็นพาหะ การป้องกันและกำจัด 1. คัดเลือกกิ่งพันธุ์จากต้นที่ไม่เป็นโรคไปปลูก 2. ป้องกันแมลงจำพวกปากดูด พวกเพลี้ยจั๊กจั่นสีน้ำตาล โดยใช้สารเคมีเช่น ฟอสซ์ อัตรา 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ มิพซิน อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือลอร์สแมน อัตรา 80 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร 3. สำหรับต้นที่เป็นโรคถ้าเป็นไม่มาก ควรตัดกิ่งที่เป็นโรคนำมาเผาทำลายซึ่งชาวสวนจะต้องพร้อมใจกันและกำจัดทุกๆ สวน เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ระบาด เกษตรกร 11
12
C : Community Participation (ทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย)
การทำงานร่วมกับเกษตรกร ชุมชน และภาคีเครือข่าย เน้นการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน (ร่วมรับรู้ ร่วมคิดตัดสินใจ ร่วมลงมือปฏิบัติ ร่วมประเมินผล และร่วมรับประโยชน์) การได้รับประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย (win-win situation) ใช้เวทีส่งเสริมการเกษตร เวทีชุมชนหรือวิธีอื่น ๆ ตามความ เหมาะสม
13
F : Specific Field Service (ให้บริการทางการเกษตรแบบเฉพาะเจาะจง มีเป้าหมายชัดเจน)
นักส่งเสริมการเกษตรต้องเข้าพื้นที่อย่างมีเป้าหมาย ใช้ข้อมูลในการทำงานในพื้นที่เพื่อให้บริการแบบเฉพาะเจาะจง (Farmer Approach) รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันเพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.