ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มลภาวะ (pollution)
2
มลภาวะทางน้ำ
3
การบ่งบอกน้ำเสีย DO (Dissolved oxygen) คือ ปริมาณ O2 ที่ละลายน้ำ ในการหาปริมาณ O2 ในน้ำใช้สารเคมี หลายชนิดทำปฏิกิริยากับ O2 DO ในน้ำ > หรือเท่ากับ 3 mg/l เป็นน้ำดี ต่ำกว่า 3 mg/l เป็นน้ำเสีย
4
BOD (Biochemical Oxygen demand) คือ ปริมาณ O2 ที่จุลินทรีย์ใช้ในการสลายสารอินทรีย์ในน้ำ
5
โลหะหนัก สารที่มีโลหะหนักเป็นองค์ประกอบในน้ำที่จะก่อให้เกิดมลภาวะ
สารที่มีโลหะหนักเป็นองค์ประกอบในน้ำที่จะก่อให้เกิดมลภาวะ ปรอท (Hg) ทำให้เกิดโรคมินามะตะ โรงงานที่ปล่อยสารนี้ ได้แก่ โรงงานผลิตกระดาษ และเยื่อกระดาษ โรงงานผลิตพลาสติก แคตเมียม (Cd) เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ใช้ผสมโลหะคือ ใช้ผสมสีบางชนิด ใช้เคลือบโลหะบางครั้งใช้ผสมอุดฟัน แมงกานีส (Mn) จากโรงงานผลิตถ่านไฟฉาย ตะกั่ว (Pb) จากโรงงานแบตเตอรี่ ดีบุก (Sn) จากโรงงานกระป๋อง โรงงานทำโลหะบัดกรี
6
มลภาวะทางอากาศ
8
ฝนกรด
10
ภาวะโลกร้อน
11
แก๊สเรือนกระจก
13
Carbon dioxide
14
Carbon dioxide
15
โอโซน
16
CFCs chlorofluorocarbon (CFC)
เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีแต่ธาตุคาร์บอน คลอรีน ไฮโดรเจนและฟลูออรีน เป็นอนุพันธ์ของมีเทนและอีเทนที่ระเหยเป็นไอได้รวดเร็ว
17
คำถาม??? 1. มีการตรวจวัดน้ำเสียโดยใช้ค่าอะไรวัดบ้างและมีเกณฑ์อย่างไร
2. นักเรียนมีส่วนช่วยอย่างไรในการพัฒนาแหล่งน้ำไม่ให้เสีย 3. ฝนกรดเกิดจากอะไร มีโทษอย่างไร 4. การผลิตไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนอย่างไร 5. แก๊สเรือนกระจก มีอะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร 6. การปลูกต้นไม้ช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อย่างไร 7. CFCs คืออะไร พบได้จากที่ไหน และมีโทษอย่างไร 8. นักเรียนช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อย่างไรบ้างบอกมา 5 ข้อ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.