งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making Network Connections เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร

2 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ทำไมต้องเชื่อมต่อ LAN หน่วยงานหนึ่ง ๆ มักจะมี LAN อยู่หลายระบบ เพราะ – การแบ่งส่วนหน่วยงาน ส่วนราชการ แผนก ฝ่าย – การจัดกลุ่มของผู้ใช้จำนวนมาก – การควบคุม Traffic ให้อยู่ในวงจำกัด – ข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ LAN แต่ละระบบในองค์กรจำเป็นต้องมีการ แลกเปลี่ยนหรือใช้ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน ความต้องการในการยืดระยะเครือข่ายให้ไกลขึ้น

3 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK จาก OSI Reference model การเชื่อมโยง LAN 2 ระบบเข้าด้วยกันอาจเป็น การเชื่อมโยงที่ระดับ Layer ใด Layer หนึ่ง หรือ เกิดการเชื่อมโยงกันระหว่างหลาย ๆ Layer การเชื่อมโยงในแต่ละ Layer จะช่วยจำแนก อุปกรณ์และการทำงานดังนี้ – เชื่อมโยงที่ Physical Layer ได้แก่ Repeater – เชื่อมโยงที่ Da talink Layer ได้แก่ Bridge – เชื่อมโยงที่ Network Layer ได้แก่ Router

4 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Repeater, Bridge, Router Vs OSI Physical Data Link Network Transport Session Presentation Application Physical Data Link Network Transport Session Presentation Application Repeater Bridge Router

5 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Repeater Repeater อุปกรณ์ขยายสัญญาณกลางทาง สัญญาณเมื่อเดินทางตาม medium จะเกิดการ สูญเสียแรงดันจากความต้านทานของสาย ทำให้ สัญญาณที่ปลายทางอ่อนเกินไป Repeater ทำหน้าที่เหมือน Amplifier ขยาย สัญญาณให้แรงขึ้นแล้วส่งต่อ มาตรฐาน IEEE 802.3 กำหนดให้ 1 Segment ของ LAN ยาวไม่เกิน 500 m หากต้องการยืดระยะ ต้องใช้ Repeater แต่จะยอมให้ใช้ได้ไม่เกิน 4 ตัว

6 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Repeater connecting Three LAN Segments Repeater

7 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Bridges ตามความสัมพันธ์ของ OSI Bridges ทำงานที่ Data Link Layer Data Link Layer มี MAC Protocol เชื่อมโยงเครื่อข่ายที่มีลักษณะเหมือนกันหรือ ต่างกันก็ได้ Bridges มีความสามารถในการแยกแยะปลายทาง ได้

8 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Bridges Function สามารถตัดสินใจว่าจะส่ง Packets ข้ามไปยังอีก เครือข่ายหรือไม่ – รับ packet จาก LAN A เข้ามา – ตรวจดู Mac Address – ถ้า Address อยู่ LAN B จะส่งผ่านไปยังอีกฝั่ง ถ้าไม่ใช่ ก็จะกั้นไว้ – ทำอย่างเดียวกันกับฝั่ง LAN B Bridge LAN ALAN B

9 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Bridge Function แปลงการเชื่อมต่อจาก media ชนิดหนึ่งไปสู่อีก ชนิดหนึ่ง (Media Conversion) เรียนรู้สถานะจากระบบ (Learning) การเชื่อมโยงจากระยะไกล (Remote connection) การแปลงสัญญาณ (Signal Conversion) การแปลงความเร็ว (Speed Conversion) การบันทึกสถิติ (Packet Satistics)

10 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Bridge Routing Bridge ต้องเรียนรู้ Address ของ Node ทุกตัวใน เครือข่าย Bridge Routing คือ การตัดสินใจว่าจะส่งข้ามไป อีกฝั่งหรือไม่ Learning bridge หรือ Transparent bridge คือ Bridge ที่จะมี Learning mode เพื่อคอย ตรวจสอบว่ามี Node ใดเพิ่มเข้ามาใหม่หรือไม่

11 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Routing Table (Bridge) N1 N2 N3 N4 N5 B1 B2 Bridge B1 Routing Table

12 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Spanning Tree Algorithm มีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อ Mac Layer ใด ๆ ทำงานโดยอาศัย priority ของ Bridge แต่ละตัว Root Bridge คือ Bridge ที่มี Priority สูงสุด สามารถเรียนรู้ topology ของเครือข่ายได้เอง สามารถเปลี่ยนแปลง เส้นทางได้ถ้าเส้นทางเดิม ใช้ไม่ได้ มีการส่ง status messages และ Flooding เพื่อ ส่งข่าวสารเกี่ยวกับระบบ นำมาใช้ได้ดีกับ CSMA/CD LAN

13 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Source Routing นิยมนำมาใช้กับ Token passing อาศัยหลักการให้สถานีผู้ส่งเป็นผู้กำหนด path ให้กับ packet ส่ง discovery packet จะช่วยบอกเส้นทางที่ผ่าน ว่าผ่าน Bridge ตัวใดมาบ้าง เพื่อให้ สถานีส่ง เลือกเส้นทาง

14 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Router ทำงานที่ OSI : Network Layer รับผิดชอบในการจัดเส้นทางให้แก่ packet (Packet Routing) Application ในอุปกรณ์จะจัดเส้นทางที่เหมาะสม ที่สุดให้ Packet จะมีการจัดรูปแบบใหม่ (Reformat) สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่ต่างชนิดกันมากๆ ได้ เช่น LAN กับ WAN ไม่สนใจรายละเอียดที่ Data link และ Physical Layer รับรู้เส้นทางในระดับเครือข่ายเท่านั้น

15 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Gateways เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายที่ไม่เหมือนกัน เลย Gateway จะมีขีดความสามารแปลง protocol ไป มาได้ ข้อมูลใน packet บางส่วนจะถูกเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะส่วนหัวและท้าย ทำงาน

16 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Switches จากความต้อง High speed LAN – ใช้ Hardware ที่มีความเร็วสูงขึ้น – ใช้เครือข่ายความเร็วสูงขึ้น – ทำให้ความต้องการ bandwidth ลดลง – แบ่ง LAN เป็นส่วนย่อยๆ – ใช้วิธีการรับส่งแบบ Full duplex – ใช้ Switches

17 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK LAN Switches ทำงานเหมือนกับ Telephone switches LAN Switches เรียกอีกอย่างว่า Switching Hubs การทำงาน –Frame เดินทางเข้าสู่ Switch –Switch มองหา destination address ใน table –Switch ส่ง frame นั้นออกไปยัง port หลายทาง – การเชื่อมโยงเข้าหากันหลายแห่ง ขณะเดียวกัน สามารถเกิดขึ้นได้ – สามารถหลีกเลี่ยงกันชนกันของข้อมูลได้ – ความเร็วขนาด n port = n/2 x C, C = speed

18 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Switch Architecture Cut-through switches – มีความเร็วสูงเพราะไม่ต้องรอให้ packet เข้ามาครบ สมบูรณ์ – การตรวจสอบ Error ทำได้ต่ำ Store-and-forward – ความเร็วต่ำกว่าแบบแรกเพราะต้องรอให้ packet เข้า มาครบถ้วนก่อน – การตรวจสอบ Error ทำได้ดีกว่า แต่จะมี Delay การส่ง สูงกว่า

19 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK VLAN : Virtual LANs อาศัยความสามารถของ อุปกรณ์ ในการจัดกลุ่ม Ports ต่างๆ บน LAN วง เดียวกัน ให้เสมือนมีหลาย ๆ วง วิธีการแบ่ง – แบ่งจาก Port – แบ่งจาก Mac Address – แบ่งจาก Packet Tagging

20 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Layer n VLANs Layer 3 VLANs ทำงานบน Network layer Address เช่น IP Address Layer 2 VLANs ทำงานบน MAC Address – หากเปลี่ยน LAN Card ต้อง config VLAN ใหม่ Layer 1 VLAN อาศัยการแบ่ง Port – ย้าย port ใหม่ต้องจัดกลุ่มใหม่

21 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK End.

22 BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK Quiz จงอธิบายความหมายของคำต่อไปนี้ –Repeater –Bridge –Router จงเปรียบเทียบการทำงานแบบ Store-and- forward กับ cut-through ระบบ VLAN หมายถึง หากต้องการใช้อุปกรณ์ที่สามาถรเชื่อมโยง เครือข่ายที่ไม่เหมือนกันอย่างสิ้นเชิงควรเลือกใช้ อุปกรณ์ใด เพราะเหตุใด


ดาวน์โหลด ppt BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google