ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บรรยายสรุปจังหวัดขอนแก่น
2
ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ
มีพื้นที่รวม ล้านไร่ หรือประมาณ 10, ตร.กม. พื้นที่ป่าสงวนและอุทยานแห่งชาติ 803, ไร่ ตั้งอยู่ตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีอาณาเขตติดต่อกับ 9 จังหวัด แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 26 อำเภอ 198 ตำบล 2,331 หมู่บ้าน ชุมชน
3
ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ (ต่อ)
การปกครองส่วนท้องถิ่น 1 อบจ. 47 เทศบาล (เป็นเทศบาลนคร 1 แห่ง ,เทศบาลเมือง 3 แห่ง และเทศบาลตำบล 43 แห่ง) 177 อบต. ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ 29 ส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค 208 ส่วนราชการบริหารส่วนกลาง ประชากร 1,752,414 คน (ชาย 869,386 คน/หญิง 883,028 คน)
4
ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ ทางเศรษฐกิจ
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ปี 2550 คือ 126,791 ล้านบาทเป็นอันดับที่ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัดนครราชสีมา รายได้ต่อหัวประชากรคือ 67,943 บาท/คน/ปี เป็นอันดับที่ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาขาการผลิตที่สร้างรายได้อันดับ 1 ให้กับจังหวัดในปี 2550 คือ นอกภาคเกษตรคิดเป็นมูลค่า 111,029 ล้านบาท (ร้อยละ ของ GPP) อันดับ 2 คือ ภาคการเกษตรคิดเป็นมูลค่า 15,762 ล้านบาท (ร้อยละ ของ GPP)
5
ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ ทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
ประชากรอยู่ในวัยแรงงาน 887,601 คน มีงานทำ 864,164 คน ทำงานในภาคการเกษตร 348,364 คน ทำงานในภาคนอกการเกษตร 515,800 คน พื้นที่การเกษตรรวมทั้งสิ้น 4,971,961 ไร่ มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร 553,461 ไร่ (ร้อยละ ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด) ระดับการศึกษาของแรงงาน ระดับประถมศึกษาและต่ำกว่า 537,174 คน ระดับมัธยมศึกษาและสูงกว่า 327,174 คน
6
ศักยภาพทางการพัฒนาที่สำคัญ
ตั้งอยู่ตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางบกของภาค มีโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นศักยภาพทางการพัฒนาที่สำคัญ สนามบิน มีโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมทางบกที่ค่อนข้างสมบูรณ์ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา/อาชีวศึกษา สถานบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขขนาดใหญ่ แหล่งกักเก็บน้ำขนาดใหญ่ โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ระบบการให้บริการด้านธุรกิจการเงินและการธนาคาร
7
ศักยภาพทางการพัฒนาที่สำคัญ (ต่อ)
ศักยภาพทางการพัฒนาที่สำคัญ (ต่อ) เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตที่จะได้รับประโยชน์จากนโยบายการพัฒนา ของรัฐบาลตามแนวเส้นทางเศรษฐกิจ East-West Economic Corridor มีปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่สามารถพัฒนาเป็น ฐานการผลิตทางด้านอาหาร ฐานการผลิตด้านพลังงานทดแทน มีความพร้อมด้านระบบบริหารการพัฒนาแบบบูรณาการโดยภาครัฐ และระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน มีหน่วยงานที่พร้อมจะเป็นหุ้นส่วนทางการพัฒนา (Partnership)
8
แนวคิดการพัฒนาของจังหวัดขอนแก่น
วิสัยทัศน์ : ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่าย การค้า การลงทุน การบริการ และการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล
9
ผลการพัฒนาจังหวัดขอนแก่นที่ผ่านมา
ด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจดี แต่ไม่สมดุลและมีความเปราะบาง ต่อการเผชิญความผันผวนทางเศรษฐกิจ ด้านสังคม : สังคมมีปัญหา วัฒนธรรมและค่านิยมของคนในสังคม เสื่อมลง ด้านทรัพยากรธรรมชาติ : ทรัพยากรธรรมชาติและสภาวะแวดล้อม เสื่อมโทรม ด้านความยั่งยืนของการพัฒนา : การพัฒนาไม่ยั่งยืน
10
ทำไมจึงเป็นเช่นนี้..?
11
เหตุผล 1. ยังไม่สามารถพัฒนาภาคเศรษฐกิจในแต่ละสาขาของจังหวัดให้เข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจแบบ Khowledge –Base Economic 2. ระบบเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคการเกษตรยังเป็นแบบ More For Less 3. ระบบบริหารการพัฒนาเชิงบูรณาการในระดับพื้นที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้การขับเคลื่อนการพัฒนาไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4. นโยบายการพัฒนาของรัฐบาล ที่มีผลต่อการพัฒนาพื้นที่มีความล่าช้าและ ขาดประสิทธิภาพ 5. ความเห็นพ้องต้องกัน (Consensus) ทางการพัฒนาของกลุ่มคนในพื้นที่ ยังไม่เป็นไปในทางเดียวกัน
12
แนวทางแก้ไข 1. วางตำแหน่ง (Positioning) ของจังหวัดให้ชัดเจนและอยู่บนพื้นฐาน ของความเห็นพ้องต้องกัน (Consensus) ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหารจัดการ
13
แนวทางแก้ไข (ต่อ) 2. ออกแบบระบบการบริหารการพัฒนาในแต่ละตำแหน่งให้ถูกต้อง (Strategic Architecture) 3. ออกแบบระบบขับเคลื่อนการบริหารการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ (High Performance Operation Model) 4. พัฒนาหุ้นส่วนทางการพัฒนา (Partnership) ให้มีขีด ความสามารถขั้นสูง (The Best and Brightest)
14
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.