งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส วิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ โดยการใช้บทเรียนสำเร็จรูป ผู้เสนอ นางสาวเฉลิมขวัญ นามประดิษฐ์ สาขาวิชา ชีพพื้นฐาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
คือนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำและพิมพ์งานช้า ผู้วิจัย จึงคิดปูพื้นฐานในด้านการพิมพ์เอกสารให้กับนักเรียนตั้งแต่เบื้องต้นซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ ท่านั่ง การวางนิ้ว การสืบนิ้ว ซึ่งในการทำวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงนำเอาบทเรียนสำเร็จรูปในการพิมพ์สัมผัสมาพัฒนานักเรียนในด้านการพิมพ์สัมผัส

3 วัตถุประสงค์งานการวิจัย
เพื่อวิเคราะห์และจัดกลุ่มทักษะการพิมพ์สัมผัส เพื่อศึกษาค้นหาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัส เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส

4 ตาราง-ผังสรุปสำคัญ ตอนที่ 1 ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การวิเคราะห์และจัดกลุ่มทักษะการพิมพ์สัมผัสวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ พบว่า การจัดกลุ่มนักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ดีและนักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ต้องแก้ไขปรับปรุง ซึ่งจัดได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ 1 นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ได้คำสุทธิ 35 คำ/นาทีขึ้นไป และ กลุ่มที่ 2 นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ได้คำสุทธิไม่ถึง 35 คำ/นาที

5 ตอนที่ 2 ตามวัตถุประสงค์ที่ 2 ศึกษาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัส
จากการศึกษาสาเหตุของทักษะการพิมพ์สัมผัสมี 2 กรณี คือ นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ดีหรือนักเรียนที่พิมพ์เก่ง สาเหตุดังกล่าวมีผลมาจาก 1. นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร 2. นักเรียนเล่นเกมส์มาก 3. นักเรียนมีนิ้วมือที่แข็งแรงเพราะทำงานหนัก นักเรียนที่มีทักษะการพิมพ์ที่ไม่ดีหรือนักเรียนที่พิมพ์ไม่เก่ง สาเหตุดังกล่าวมีผลมาจาก 1. นักเรียนมีโอกาสในการใช้คอมพิวเตอร์น้อย 2. นักเรียนมีนิ้วมือที่ไม่แข็งแรงเพราะอาจไม่เคยทำงานหนัก

6 ตอนที่ 3 ตามวัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส
พบว่าค่าเฉลี่ยคำสุทธิของผู้เรียนกลุ่มที่ 1 หลังใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาทักษะการพิมพ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ และ ค่าเฉลี่ยคำสุทธิของผู้เรียนกลุ่มที่ 2 หลังใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาทักษะการพิมพ์มีประสิทธิภาพสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.86

7 ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้สนับสนุนการวิจัย ผู้อำนวยการวรรณา ตันประภัสร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี สถานศึกษารับรางวัลพระราชทาน 2 ครั้งต่อเนื่อง ระดับอาชีวศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศและความเป็นสากล ปรัชญา มาตรฐานดี กิจกรรมเด่น เน้นวินัย


ดาวน์โหลด ppt รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google