งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ ควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ( รพท./ รพช.) สถานะทางการเงิน จำแนกรายไตรมาส

3 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ ควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ( รพท./ รพช.) สถานะทางการเงิน ณ 31 ธ. ค. 57

4 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ ควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ( รพท./ รพช.) สถานะทางการเงิน ปี 2558 จำแนกรายเดือน

5 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ ควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ( รพท./ รพช.) คะแนน FAI : Financial Administration Index

6 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 6 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง Key Risk Factor 1. นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 2. งบประมาณที่ได้รับจากกองทุน UC ไม่เพียงพอ 3. การจัดสรรรายหัวประชากร และการ หักเงินเดือนจากงบเหมาจ่ายรายหัว 4. การบริหารประสิทธิภาพการเงินการ คลัง ยังขาดกลไกการควบคุมกำกับ ติดตาม

7 ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. แนวคิดการใช้กลไกการเงินนำระบบ สุขภาพ ขาดการบูรณาการ 2. งบบริการพื้นฐานของหน่วยบริการไม่ เพียงพอ 3. หน่วยบริการต้องแบกรับภาระความ เสี่ยงทางด้านการเงิน (Financial risk) ขณะที่ ยังคงต้องรักษาคุณภาพบริการไว้เช่นเดิม 4. ส่วนกลาง และเขตบริการสุขภาพ ควร พิจารณางบช่วยเหลือจังหวัดที่มีต้นทุนคงที่สูง 5. ส่วนกลางควรมีระบบประเมินความ เพียงพอของค่าใช้จ่าย สาเหตุจากการขาด ประสิทธิภาพของการจัดสรร หรือประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของหน่วยบริการ


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google