งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming

2 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2 มีอะไรบ้างในบทนี้  6.1 ความหมายและการทำงานของ ฟังก์ชัน  6.2 ประโยชน์ของการใช้ฟังก์ชัน  6.3 วิธีการสร้างฟังก์ชันอย่างง่าย C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming

3 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 3 6.1 ความหมาย  ฟังก์ชันในภาษาซีมีอยู่ 2 ชนิดคือ  ฟังก์ชั่นที่มีอยู่ในไลบรารีของภาษาซี  ฟังก์ชั่นที่เราสร้างขึ้นเอง  ฟังก์ชั่นที่มีอยู่แล้วในภาษาซีเวลาจะเรียกใช้งานก็ ต้องทำการ include ไฟล์นามสกุล.h เช่นถ้า ต้องการใช้ฟังก์ชั่น prinf หรือ scanf จะต้อง include ไฟล์ชื่อ stdio.h มาก่อน เป็นต้น  ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นเองใหม่เหมือนกับสร้างภาษาซี ขึ้นเองเพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ซึ่งจะทำให้ลดความ ซับซ้อนของโปรแกรมลง C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming

4 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 4 ฟังก์ชันแรกในโปรแกรมคือ main() ตัวอย่างโปรแกรม Func1.c. #include void main() { int x,y,z; x = 100; y=23; z=x+y; printf(“%d”,z); } C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming มีการเรียกใช้ฟังก์ชัน printf จะเห็นว่าจะต้อง มีการ include ไฟล์ stdio.h เข้ามาก่อน

5 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 5 จากตัวอย่าง เราสามารถเอาคำสั่งต่างๆ ใน main() มาสร้างเป็น ฟังก์ชั่นใหม่ได้ดังนี้ C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming #include void test( ) { int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); } void main( ) { test( ); } เรียกใช้ฟังก์ชัน test( ) เพียงตัวเดียว ก็จะทำงานเหมือน คำสั่งทั้งหมดที่เขียน ไว้ในฟังก์ชัน test () ข้างบน เรียกใช้ฟังก์ชัน test( ) เพียงตัวเดียว ก็จะทำงานเหมือน คำสั่งทั้งหมดที่เขียน ไว้ในฟังก์ชัน test () ข้างบน int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); แยกคำสั่งบางส่วนมาใส่ในฟังก์ชัน ชื่อ test ( )

6 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 6 โปรแกรมเขียนใหม่จะเป็น ดังนี้ #include void test( ) { int x,y,z; x = 100; y = 23; z = x+y; printf(“%d”,z); } void main( ) { test( ); } C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming ส่วนของฟังก์ชัน ชื่อว่า test ( ) เรียกชื่อฟังก์ชัน test ( ) เพื่อทำงานตรงจุดนี้ ฟังก์ชันหลัก

7 สงวนลิขสิทธิ์ (c) 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 7 ตัวอย่าง โปรแกรม EasyFunc1.c #include void showmenu() { printf(“==== MENU ====\n\n”); printf(“a) Say Hello\n”); printf(“b) Say Good Bye\n”); printf(“Select a or b : \n”); } Void main() { printf(“Begin\n”); showmenu(); printf(“END\n”); } C Programming tsasalak@riska.ac.th C-Programming Begin ==== MENU ==== a) Say Hello b) Say Good Bye Select a or b : END 2 1 3 4 5 6 7 8 9 10


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google