งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
หมายถึง การควบคุมคุณภาพด้วยกิจกรรมกลุ่ม

2 กิจกรรมกลุ่ม คือ ความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน หรือสร้างผลงานตามเป้าหมาย

3 กิจกรรม QCC กิจกรรมที่สร้างความร่วมมือร่วมใจในการสร้างผลงานให้ได้คุณภาพตามเป้าหมาย โดยค้นหาจุดอ่อนและหาสาเหตุแล้วระดมปัญหาแก้ไขปรับปรุงและวางแผนอย่างเป็นระบบ

4 หลักการและกิจกรรม QCC
พัฒนาคน พัฒนาทีม พัฒนางาน

5 พัฒนาคน พัฒนาทีม พัฒนางาน พัฒนาคุณภาพ

6 การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality Management : TQM
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality Management : TQM

7 การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Management : TQM
T - Total ทุกคน ทุกระดับ ทุกปัจจัยการ ทำงาน ทุกเวลา Q - Quality ทำงานเพื่อสร้างคุณภาพและ ความพึงพอใจให้กับลูกค้า M - Management การบริหารโดยเน้น การมีส่วนร่วม ทำงานเป็นทีม ปรับปรุงแก้ไข อย่างต่อเนื่อง

8 หลักการสำคัญ TQM การมุ่งที่คุณภาพ ทุกคนมีส่วนร่วมและทำงานเป็นทีม
แก้ปัญหาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

9 Total Quality Management : TQM
หมายถึง แนวทางการบริหารที่มุ่งเน้นคุณภาพโดยทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม และมุ่งเน้นสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าระยะยาว รวมทั้งรับผลประโยชน์ให้สมาชิกในองค์กรและสังคม

10 เครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญ TQM
การมุ่งที่คุณภาพ ทุกคนมีส่วนร่วมและทำงานเป็นทีม แก้ปัญหาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

11 เครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญ : TQM
การวิเคราะห์ทางสถิต การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องโดยใช้วงจร PDCA

12 สำนักงานใหญ่ อยู่ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ISO International Organization for Standardization องค์การสากลว่าด้วยมาตรฐานระหว่างประเทศ หมายถึง มาตรฐานระบบคุณภาพที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกเลือกใช้เพื่อรับรอง “ระบบการบริหารการดำเนินการขององค์กร” สำนักงานใหญ่ อยู่ในประเทศสวิสเซอร์แลนด์

13 แนวคิดสำคัญของ ISO 9000 คือ การจัดวางระบบการบริหารเพื่อการประกันคุณภาพที่สามารถตรวจสอบได้โดยผ่านระบบเอกสาร

14 ISO ได้กำหนดมาตรฐาน ISO Series : Quality System ขึ้นเพื่อให้ประเทศสมาชิกทั่วโลกนำไปใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้นำมาประกาศใช้ในประเทศไทยในชื่อ “อนุกรมมาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ มอก. ISO โดยมีเนื้อหาเหมือนกันทุกประการ

15 ISO 9000 เป็นเลขรหัสมาตรฐานคุณภาพ
มี 5 ฉบับ 1. ISO 9000 2. ISO 9001 3. ISO 9002 4. ISO 9003 5. ISO 9004

16 ISO 9000 เป็นแนวทางในการเลือกและกรอบการเลือกใช้มาตรฐานชุดนี้ให้เหมาะสม
โดยมีการแยกย่อยเป็น ISO เป็นข้อแนะนำการเลือกใช้ ISO เป็นแนวทางทั่วไปในการเลือกและการประยุกต์ใช้มาตรฐานในชุดนี้ให้เหมาะสม ISO เป็นแนวทางในการนำ ISO 9001 ไปพัฒนาประยุกต์ใช้ ISO เป็นข้อแนะนำในเรื่องการจัดการที่น่าเชื่อถือ

17 ISO 9001 คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแล
คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแล – ด้านการออกแบบ พัฒนาการผลิต การติดตั้ง และ การให้บริการ

18 ISO 9002 คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ – ซึ่งกำกับดูแลในด้าน การผลิต
คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ – ซึ่งกำกับดูแลในด้าน การผลิต การติดตั้ง และ การให้บริการ

19 ISO 9003 คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ – ซึ่งกำกับดูแลใน การตรวจสอบ
คือ มาตรฐานระบบคุณภาพ – ซึ่งกำกับดูแลใน การตรวจสอบ และ ทดสอบขั้นสุดท้าย

20 ISO 9004 คือ ระบบคุณภาพ – เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำในการจัดการในระบบคุณภาพซึ่งจะมีการกำหนดย่อยในแต่ละประเภทธุรกิจ เช่น ISO ข้อแนะนำการใช้มาตรฐาน ISO ข้อแนะนำการใช้สำหรับธุรกิจบริการ ISO ข้อแนะนำกระบวนการผลิต เป็นต้น

21 จากรายละเอียดข้างต้นจะเห็นได้ว่า มาตรฐานระบบคุณภาพที่ใช้เพื่อให้การรับรองนั้นมีด้วยกันเพียง 3 มาตรฐานคือ ISO 9001, ISO 9002 และ ISO 9003 ส่วน ISO 9000 เป็นข้อแนะนำให้ผู้ประกอบการเลือกว่าจะนำมาตรฐานใดไปใช้ให้เหมาะสมกับการดำเนินงานขององค์กรของตน โดยใช้ ISO 9004 เป็นแนวทางในการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ

22 ตัวอย่าง ISO 9000 กนกพร สุโมตกุล (2540 : บทคัดย่อ) ได้ใช้ ISO ประยุกต์ใช้ในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงอนาคต จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 กลุ่ม

23 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
1. การประกันคุณภาพของทบวงมหาวิทยาลัย กับมาตรฐาน ISO คล้ายกัน แต่ต่างกันที่ชื่อเรียก และ ระดับการยอมรับที่เป็นสากลมากกว่า

24 - ระยะเวลา 2. การนำแนวคิด ISO 9000 มาใช้ต้องอาศัย
- ระยะเวลา - อาศัยความรู้ความเข้าใจ - สร้างจิตสำนึก ด้านคุณภาพ และปริมาณ

25 อุปสรรค - ความพร้อมของบุคลากร
3. การนำแนวคิดใหม่ ๆ มาปฏิบัติ ควรปรับ แนวคิดให้เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุดได้ อุปสรรค - ความพร้อมของบุคลากร - การขาดข้อมูลข่าวสาร - งบประมาณไม่เพียงพอ - สภาพแวดล้อมไม่อำนวย - การบริหาร ขาดระบบ ไม่เป็นขั้นตอน


ดาวน์โหลด ppt การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google