งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัณโรค : A chronic infectious disease

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัณโรค : A chronic infectious disease"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัณโรค : A chronic infectious disease
น.พ. เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค

2 จังหวัดจะควบคุมวัณโรคอย่างไร ให้ได้ผล
ต้องเห็นว่า วัณโรคเป็นปัญหาเสียก่อน ทั้งผู้ปฏิบัติและผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ละเลยเมื่อไหร่ จะกลับมาทันที และวัณโรคดื้อยา/ผู้สูงอายุ/ต่างด้าว มาแรง ต้องมีแผนรองรับ – ยุทธศาสตร์ -> ปฏิบัติการ (บูรณาการกิจกรรมได้ แต่อย่าลืมวัณโรคเด็ดขาด) ต้องมีระบบข้อมูล การติดตามประเมินผล อย่างสม่ำเสมอ DOT ต้องเข้มข้น เพื่อ ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตายน้อยกว่าร้อยละ 5 ขาดยาเป็น 0

3

4 U-SHAPE CURVE OF CONCERN ON TB : เมื่อให้ความสำคัญงานวัณโรคน้อยลง ไ ม่ช้าวัณโรคก็กลับมา
ช่วงก่อนปี 1990 สหรัฐฯ เห็นว่า สามารถควบคุมวัณโรคได้ดีแล้ว ได้ลดงบประมาณด้านวัณโรค จัดสรรงบประมาณไปควบคุมโรคอื่น เพียงเวลาไม่นาน จำนวนวัณโรคก็กลับเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับช่วงปี 1990 มีปัญหาการระบาดของ HIV ด้วย ทำให้สหรัฐฯ ต้องกลับมาทุ่มเทความพยายามและงบประมาณควบคุมวัณโรคเพิ่มขึ้นเหมือนเดิม จึงลดโรคได้ต่อเนื่องอีกครั้ง ส่วนที่แรเงาคือผลของการละเลยปัญหาวัณโรคและปรับลดงบประมาณไปนั่นเอง

5 งบประมาณการควบคุมวัณโรครัฐบาลสหรัฐ

6 สถานการณ์วัณโรคโลก

7 สถิติมีไว้ทำลาย เป้าหมายมีไว้พุ่งชน
วัณโรค – ติดต่อจากคนสู่คน กลุ่มคนที่มีการป่วยสูงก็ยิ่งแพร่ให้คนอื่นได้สูง Chain of infection

8 Active TB TB infection

9 Active TB TB infection

10 TB incidence (per 100,000) by WHO region, and in Thailand, 2011
TB incidence in Thailand is 2.5 – 4 times higher than Europe & America regions source: WHO, Global Tuberculosis Report 2012

11 TB incidence in Thailand and selected high-income countries, 2011
Situation in developed countries demonstrated the possible target and 30 times difference as room for improvement for Thailand. Approx. 30 times Approx. 90 times

12 ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK)
PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE อาการ และผลเอ็กซเรย์ปอดของผู้ป่วยวัณโรค 5 45 92 Sym+ CXR+ (4%) (32%) (65%) การสำรวจความชุกวัณโรค มีความไวในการค้นหาผู้ป่วยสูงกว่าระบบปกติ เพราะ 1. ใช้คะแนนอาการจากหลายอาการ แม้อาการไม่มาก ก็เข้าข่ายสงสัยได้ และได้ตรวจเสมหะ 2. แม้ไม่มีอาการ ถ้าผลเอ็กซเรย์สงสัย ก็ได้ตรวจเสมหะหาวัณโรค จากผู้ป่วยทั้งหมดซึ่งยืนยันด้วยผลเพาะเชื้อจากเสมหะแล้ว 142 ราย เป็นผู้มีอาการ ร้อยละ 35 (4%+32%ปัดเศษทศนิยม) และ ไม่มีอาการร้อยละ 65 [การสำรวจซึ่งมีความไวสูงกว่าระบบวินิจฉัยปกติที่อาจจะคำนึงถึงอาการเป็นหลัก ทำให้พบผู้ป่วยไม่มีอาการในสัดส่วนที่สูง และ แสดงว่า ผู้มีอาการน่าจะเข้าถึงการรักษาได้มากกว่า และรักษาหาย ทำให้สัดส่วนผู้มีอาการน้อยกว่าผู้ไม่มีอาการ] <Animation> จากตัวเลขผู้ป่วยภาพรวม มี Smear+ 41% เมื่อดูจากแผนภูมิแท่ง แยกกลุ่มมีอาการและไม่มีอาการ พบว่า กลุ่มมีอาการ พบ Smear+ 60%, และกลุ่มไม่มีอาการ พบ Smear+ 30% แสดงว่า คนที่มีอาการ มีปริมาณเชื้อในเสมหะมากจนตรวจย้อมพบได้สูง คนที่ไม่มีอาการมีปริมาณเชื้อในเสมหะน้อย ย้อมพบน้อยกว่า <Animation แผนภูมิแท่งแยกกลุ่มอายุ> เมื่อแยกกลุ่มอายุ พบว่า ลักษณะภาพรวมเมื่อสักครู่ปรากฏเฉพาะในกลุ่มอายุต่ำกว่า 60 ปีเท่านั้น ในกลุ่มผู้สูงอายุ (60+) นั้น ทั้งกลุ่มมีอาการและไม่มีอาการ พบ Smear+ สูงไม่แตกต่างกัน ข้อมูลนี้ย้ำความรู้ที่ว่า วัณโรคในผู้สูงอายุอาจไม่ปรากฏอาการชัดเจน

13 ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK)
PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE อายุของผู้ป่วยวัณโรค (N=142) จำแนกตามเพศ ผู้สูงอายุเป็นวัณโรคกันมาก

14 ความชุกการป่วยวัณโรคปอดจากการสำรวจ
ผลเบื้องต้น การสำรวจความชุกวัณโรคระดับชาติ 2555 (Non-BKK) ความชุกการป่วยวัณโรคปอดจากการสำรวจ PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE PRELIMINARY RESULT. NOT FOR REFERENCE

15 กลุ่มอายุผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก ใน รง.506
Source: R506: Pulm TB New M+ / , BOE

16 ความชุกวัณโรคที่พบจากการสำรวจระดับชาติ ในประเทศต่าง ๆ
Country Year (* Provisional) Smear Positive Bact. Positive Philippines 2007 10y+ 260 ( ) 660 ( ) Viet Nam 2007 15y+ 197 ( ) 307 ( ) Myanmar 2009 242 ( ) 613 ( ) China 2010 66 (53-79) 119 ( ) Cambodia 2011* 251 ( ) 829 (704 – 975) Lao 2010/11* 276( ) 610( ) Ethiopia 2011 108 (73-143) 277 ( ) Courtesy slide: Dr Onozaki, WHO

17 5th National Survey -China 2010 253,000 participants in 176 sites
World Health Organization 10 April 2017 5th National Survey -China ,000 participants in 176 sites Region Smear positive TB Bacteriological positive Prevalence (1/100000) Change (%) Prevalence (1/100000) 2000 2010 Urban 131 (91,172) 49 (25,74) -62.6 164 (120,208) 73 (46,99) -55.5 Rural 181 (160,202) 78 (64,93) -56.9 232 (211,254) 153 (133,172) -34.1 Eastern 124 (102,147) 44 (30,58) -64.5 163 (138,187) 65 (50,81) -60.1 Middle 217 (176,259) 60 (30,91) -72.4 251 (207,294) 118 (81,154) -53.0 Western 198 (160,236) 105 (80,130) -47.0 278 (240,316) (167,229) -28. 8 Courtesy slide: Dr Onozaki, WHO (China CDC 2011) 

18 ผลสำรวจวัณโรคดื้อยา 2012 (prelim)

19 อนาคต ความท้าทาย และความพร้อมของไทยในการเอาชนะปัญหา
อนาคต ความท้าทาย และความพร้อมของไทยในการเอาชนะปัญหา สิ่งแวดล้อม เชื้อ โฮสต์ ธรรมชาติของโรค เทคโนโลยีการวินิจฉัย ยา วัคซีน

20 Challenge when the AEC starts
Incidence rate (per 100,000) AEC 2015

21 ความพร้อมของไทย เพื่อการเอาชนะปัญหา
เรียนรู้จากที่ทำสำเร็จ Back to Basic : หลักระบาดวิทยาและควบคุมโรค Source(reservoir), Transmission, Host “การรักษาคือการป้องกัน” การควบคุมวัณโรค ค้นให้พบ (Case finding, case detection) รักษาให้หาย (Treatment) ใช้ DOT ให้เข้ม (Supervision &support for treatment)

22 การระบาดของ MDR-TB ช่วง 1990 นิวยอร์ค และ รัสเซีย มีการระบาดของ MDR-TB ปัจจัยต่างกัน การแก้ปัญหาต่างกัน ผลสำเร็จต่างกัน

23 ยุทธศาสตร์ควบคุมวัณโรค
1.ส่งเสริมคุณภาพการดำเนินงานตามแนวทางการควบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2.เร่งรัดดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยา วัณโรคในเรือนจำ และกลุ่มเสี่ยงเฉพาะ 3.เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสาธารณสุขเพื่อการควบคุมวัณโรค 4.พัฒนาการมีส่วนร่วมของหน่วยบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชน 5.พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน 6.ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการควบคุมวัณโรค

24

25 จุดเน้นงานวัณโรค ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตายน้อยกว่าร้อยละ 5 ขาดยาเป็น 0

26 ความพร้อมของประเทศไทย
ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ - -> แผนปฏิบัติการ/ตัวชี้วัด มาตรฐานการปฏิบัติงานคลินิกวัณโรค ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค ระบบบริการสุขภาพ ระบบประกันสุขภาพ

27 จากนโยบาย สู่การปฏิบัติ

28 ตัวชี้วัดหลักการดำเนินงานวัณโรค อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
การตอบสนองเชิงนโยบาย มี Mr.TB /มีผู้รับผิดชอบงานผ่านอบรม การค้นหาและวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรค การรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นแบบมีพี่เลี้ยง ยารักษาวัณโรคไม่ขาดแคลนและมีคุณภาพ ทะเบียนและรายงานวัณโรค การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล การผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส์ ผลการรักษา

29 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt วัณโรค : A chronic infectious disease

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google