ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKovit Thongthang ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2-2550 ผู้วิจัย : อนันต์ แก้ว ยานะ ปีการศึกษา : 2- 2550 ผลการ วิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการ นิเทศส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้ วิธีการสอนแบบสาธิต คิดเป็น ร้อยละ 50.00 รองลงมาคือ ใช้ วิธีการนิเทศแบบผสมผสาน คิด เป็นร้อยละ 14.47 รองลงมาจะ เป็นเทคนิคการสอนแบบต่าง ๆ อีกจำนวน 10 เทคนิควิธี นั่น หมายความว่า ระบบการนิเทศ ครั้งนี้สามารถพัฒนาให้ครูผู้สอน เกิดความตระหนักในการทดลอง ใช้วิธีการสอนแบบอื่น ๆ มากขึ้น และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสอน มากขึ้นกว่าการบรรยาย ข้อเสนอแนะ ระบบการนิเทศ ควรให้ควรสำคัญหรือเน้นวิธีการ สอนแบบต่าง ๆ ให้มีจำนวน ครูผู้สอนเลือกใช้สูงขึ้นโดยบูรณา การกับการวิจัยชั้นเรียนเพื่อให้พบ เห็นข้อเท็จจริงที่สามารถ ตรวจสอบได้ เพื่อพัฒนาระบบการ นิเทศการสอน และ ศึกษาประสิทธิผล ของการนำระบบการ นิเทศไปใช้ แบบการนิเทศที่ หลากหลายวิธีตาม เทคนิคการสอนแบบ ต่าง ๆ กับกลุ่ม ครูผู้สอนจำนวน 60 เปอร์เซ็นต์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ วิธีการ วิจัย วัตถุประสงค์ การวิจัย ผู้รับผิดชอบ : เกษม สีตาบุตร – สลักจิต คำใส
2
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2-2550 ผลการวิ จัย ผู้วิจัย : นายอนันต์ แก้วยานะ ปีการศึกษา : 2- 2550 ระดับผลการ ประเมิน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้า รับการนิเทศส่วนใหญ่ผล การประเมินสูงสุดอยู่ใน ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 77.63 รองลงมาคือระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 15.79 และระดับปานกลางคิดเป็น ร้อยละ 6.58 ตามลำดับนั่น หมายความว่า ระบบการ นิเทศสามารถพัฒนา ครูผู้สอนให้เกิดความ ตระหนักในการเลือกใช้ เทคนิคการสอนแบบต่าง ๆ ได้อย่างน่าพอใจ และ เป็นไปตามหลักการสอนใน แบบวิธีการสอนที่ได้เลือก รับการนิเทศอย่างเป็น รูปธรรม วิธีการวิจัย วัตถุประสงค์การ วิจัย วิธีการวิจัย วัตถุประสงค์การ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบการ นิเทศการสอน และ ศึกษาประสิทธิผล ของการนำระบบการ นิเทศไปใช้ แบบการนิเทศที่ หลากหลายวิธีตาม เทคนิคการสอนแบบ ต่าง ๆ กับกลุ่ม ครูผู้สอนจำนวน 60 เปอร์เซ็นต์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ผู้รับผิดชอบ : เกษม สีตาบุตร – สลักจิต คำใส
3
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2-2550 ผลการวิ จัย ผู้วิจัย : อนันต์ แก้วยานะ ปีการศึกษา : 2- 2550 การพัฒนา ผู้เรียนด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการ นิเทศส่วนใหญ่แล้วจะเลือกที่จะ พัฒนาองค์ความรู้ด้านพุทธิพิสัย เป็นส่วนใหญ่คิดเป็นร้อยละ 60.53 รองลงมาคือการพัฒนา องค์รู้ด้านทักษะพิสัยของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 39.47 ส่วนการ พัฒนาด้านจิตพิสัยไม่ได้รับการ เลือกใช้เป็นเนื้อหาการสอน วิธีการ วิจัย วัตถุประสงค์การ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบการ นิเทศการสอน และ ศึกษาประสิทธิผล ของการนำระบบการ นิเทศไปใช้ แบบการนิเทศที่ หลากหลายวิธีตาม เทคนิคการสอนแบบ ต่าง ๆ กับกลุ่ม ครูผู้สอนจำนวน 60 เปอร์เซ็นต์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ผู้รับผิดชอบ : เกษม สีตาบุตร – สลักจิต คำใส
4
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2-2550 ผลการวิ จัย ผู้วิจัย : อนันต์ แก้ว ยานะ ปีการศึกษา : 2550 ร้อยละของแผนกที่ ได้รับการนิเทศ พบว่า ครูผู้สอนที่เข้าร่วมการ นิเทศในภาคเรียนที่ 2-2550 มี จำนวนร้อยละ 63.87 แผนกที่ เข้าร่วมการนิเทศ 100.00 เปอร์เซ็นต์คือแผนกคอมพิวเตอร์ บัญชี และการจัดการ แผนกที่เข้า ร่วมน้อยที่สุดคือแผนกไฟฟ้า และอิเล็กคิดเป็นร้อยละ 28.57 เท่ากัน ข้อเสนอแนะ ควรให้ทุก คนเข้าร่วมการนิเทศการสอนด้วย วิธีการสอนแบบใหม่ ๆ ทุกคน วิธีการวิจัย วัตถุประสงค์การ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบการ นิเทศการสอน และ ศึกษาประสิทธิผล ของการนำระบบการ นิเทศไปใช้ แบบการนิเทศที่ หลากหลายวิธีตาม เทคนิคการสอนแบบ ต่าง ๆ กับกลุ่ม ครูผู้สอนจำนวน 60 เปอร์เซ็นต์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ผู้รับผิดชอบ : เกษม สีตาบุตร – สลักจิต คำใส
5
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา 2-2550 ผลการวิ จัย ผู้วิจัย : อนันต์ แก้ว ยานะ ปีการศึกษา : 2550 ร้อยละของแผนกที่ได้รับ การนิเทศ พบว่า ครูผู้สอนที่เข้าร่วมการ นิเทศในภาคเรียนที่ 2-2550 มี จำนวนร้อยละ 63.87 แผนกที่ เข้าร่วมการนิเทศ 100.00 เปอร์เซ็นต์คือแผนกคอมพิวเตอร์ บัญชี และการจัดการ แผนกที่เข้า ร่วมน้อยที่สุดคือแผนกไฟฟ้า และอิเล็กคิดเป็นร้อยละ 28.57 เท่ากัน ข้อเสนอแนะ ควรให้ทุก คนเข้าร่วมการนิเทศการสอนด้วย วิธีการสอนแบบใหม่ ๆ ทุกคน วัตถุประสงค์การ วิจัย วิธีการ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบการ นิเทศการสอน และ ศึกษาประสิทธิผล ของการนำระบบการ นิเทศไปใช้ แบบการนิเทศที่ หลากหลายวิธีตาม เทคนิคการสอนแบบ ต่าง ๆ กับกลุ่ม ครูผู้สอนจำนวน 60 เปอร์เซ็นต์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ผู้รับผิดชอบ : เกษม สีตาบุตร – สลักจิต คำใส
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.