งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง คณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง คณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง คณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน
กรอบการพัฒนาระบบแผนงานแบบบูรณาการ IRBM1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ปัจจัยภายนอก (SWOT / TOWS) ปัจจัยภายใน วิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศ กำหนด กลยุทธ์ Balanced Scorecard ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area) แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน Individual Scorecard หรือเป้าประสงค์ (Purpose) หน่วยงาน ผู้ปฏิบัติงาน Portfolio

2 (ต่อ) กำหนดโครงการบูรณาการ มิติที่ 1 ความสอดคล้อง เชิงยุทธศาสตร์ มิติที่ 2 ประสิทธิภาพการ บริหารทรัพยากร บุคคล มิติที่ 3 ประสิทธิผลการ มิติที่ 4 ความพร้อม รับผิดการบริหาร ทรัพยากรบุคคล มิติที่ 5 ความสมดุล ระหว่างชีวิตและ การทำงาน เขียนแผนปฏิบัติการ (โครงการบูรณาการ) ที่จะทำให้ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมายบรรลุ แผนบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงกลยุทธ์ (HR Scorecard) Roadmap KRA Profile KRA Unit Individual ข้อเสนอเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) 11 12 แผนการเงินการคลัง (1) ประมาณการรายได้ (2) ประมาณการรายจ่าย (3) เงินสำรองจ่าย (4) สถานการณ์การเงินการคลัง Risk Management Plan 13 ปรับแผนปฏิบัติการ (โครงการบูรณาการ) และกำหนดผู้รับผิดชอบ

3 ขั้นตอนการพัฒนาระบบแผนงานแบบบูรณาการ
ขั้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ เตรียมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนด สารสนเทศ กำหนดประเด็น เพื่อนำไปวิเคราะห์ เชิงกลยุทธ์ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน แนวโน้ม 1. สถานะสุขภาพ ประชากร 2. การเข้าถึงและการ ให้บริการ 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ให้ความสำคัญ กับความท้าทาย เช่น ความกดดัน ที่มีผลต่อความ สำเร็จและความ ล้มเหลวในอนาคต ปัจจัยภายนอก โอกาส / ภัยคุกคาม 4. มาตรฐานบริการ (HCA,HPH,QA, HA,HNQA, กระทรวงฯ) 5. มาตรฐานการ บริหารจัดการที่ดี 6. มาตรฐานการ สนับสนุน สังคม และ สิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน • ลักษณะสำคัญ ขององค์การ ปัจจัยภายใน จุดแข็ง / จุดอ่อน เศรษฐกิจ และ เทคโนโลยี สารสนเทศ 7. บุคลากรและ องค์การ 8. ข้อมูลและ สารสนเทศ อดีต การเมือง 9. การเงินการคลัง 10.ทรัพยากรบริหาร

4 โอกาส (Opportunities)
ขั้นที่ วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ (SWOT / TOWS Analysis) (McKinsey's 7s / PMQA) (1) โครงสร้างองค์การ (2) กลยุทธ์ขององค์การ (3) ระบบดำเนินงานขององค์การ (4) แบบแผนหรือพฤติกรรมในการบริหารงานของผู้บริหารระดับสูง (5) สมาชิกหรือทรัพยากรบุคคลในองค์การ (6) ความรู้และทักษะของทรัพยากรบุคคล (7) ค่านิยมร่วมของสมาชิกในองค์การ จุดแข็ง (Strengths) สิ่งที่องค์การมีความโดดเด่น/ทำได้ดีกว่าคู่แข่งขัน (พิจารณาจากความสามารถ/ทรัพยากร/ปัจจัยอื่นๆ) จุดอ่อน (Weaknesses) สิ่งที่องค์การจะต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข (พิจารณาความสามารถ / ทรัพยากร / ปัจจัยอื่นๆ) โอกาส (Opportunities) การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกองค์การที่ส่งผลกระทบในทางบวก (เอื้อประโยชน์) ภัยคุกคาม (Threats) การเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายนอกองค์การที่ส่งผลกระทบในทางลบ (อุปสรรค / ข้อจำกัด) ตาม ด้วย เริ่มต้น ด้วย (1) ประชากร (2) สังคม (3) เศรษฐกิจ (4) การเมือง

5 ขั้นที่ 3 กำหนดกลยุทธ์ (SWOT / TOWS Matrix)
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ประเด็นจุดแข็ง (S) (5 – 10 ประเด็น) ประเด็นจุดอ่อน (W) ประเด็นโอกาส (O) SO Strategies “ใช้ประโยชน์จากโอกาสโดยอาศัยจุดแข็งภายในองค์การ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน หรือนำไปสู่การพัฒนา” WO Strategies “ใช้ประโยชน์จากโอกาสมาพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขจุดอ่อนขององค์การ” ประเด็นภัยคุกคาม (T) ST Strategies “ใช้จุดแข็งจัดการความเสี่ยงพลิกวิกฤติ / หลีกเลี่ยง กอบกู้ จากภัยคุกคาม” WT Strategies “หลีกเลี่ยงภัยคุกคาม / จัดการความเสี่ยง ภาวะวิกฤติ และจุดอ่อนขององค์การในเวลาเดียวกัน” Core Competence

6 v s ขั้นที่ 4 เขียนแผนกลยุทธ์ (Strategic Plan)
นำกลยุทธ์ SO และ ST มาเขียนวิสัยทัศน์ จะต้องสะท้อน Core Competence วิสัยทัศน์ ตามกฎหมาย บูรณาการ SO / ST / WO / WT พันธกิจ เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง จากวิสัยทัศน์ SO ST WO WT กลยุทธ์ Alignment Focus v s

7 กำหนดผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area)
ขั้นที่ 5 กำหนดผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area) จากความสัมพันธ์ของกลยุทธ์ และ BSC (BSC Matrix) BSC Strategies ผู้ใช้บริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย มาตรฐานการพัฒนาและการบริหารทั่วทั้งองค์การ การเรียนรู้และการพัฒนา การบริหารการเงินการคลัง SO KRA…. ST WO WT

8 เขียนแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)
ขั้นที่ 6 เขียนแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) Alignment วิสัยทัศน์ Focus พันธกิจ1 พันธกิจ2 KRA11 KRA12 ผู้ใช้บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาตรฐานการพัฒนา และการบริหารคุณภาพ ทั่วทั้งองค์การ KRA21 KRA22 KRA23 KRA31 KRA32 การเรียนรู้และ การพัฒนา การบริหารการเงิน การคลัง KRA41 KRA42 KRA43

9 ตัวชี้วัดระดับ Roadmap
ขั้นที่ 7 การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ตามระดับการจัดการขององค์การ กำหนดตัวชี้วัด ระดับองค์การ (Roadmap) ลำดับที่ 1 มาจากผลสัมฤทธิ์รวม (KRA) ที่คาดหวัง สะท้อน Customers และ Stakeholders มาจากข้อมูลและสารสนเทศ Flagships of Vision กลยุทธ์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดระดับ Roadmap SO ST WO WT ปีที่ 5 สัมพันธ์และสอดคล้อง กับเป้าประสงค์ สะท้อนผลสัมฤทธิ์ ภาพรวมขององค์กร ปีที่ 4 ………. ปีที่ 3 ปีที่ 2 ปีที่ 1

10 Roadmap1 : ………………………………… สัมพันธ์และสอดคล้อง Roadmap
(ต่อ) กำหนดตัวชี้วัดระดับคณะกรรมการ และทีมคร่อมสายงาน (Key Results Area Profile : KRA Profile) ลำดับที่ 2 กลยุทธ์ Roadmap1 : ………………………………… KRA เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด KRA Profile KRA11 KRA12 Strategy Map สัมพันธ์และสอดคล้อง กับเป้าประสงค์ สะท้อนผลสัมฤทธิ์ ภาพรวมขององค์กร …… สัมพันธ์และ สอดคล้องกัน (Alignment) กับ Roadmap สัมพันธ์และสอดคล้อง Roadmap Customers และ Stakeholders MIS

11 (ต่อ) กำหนดตัวชี้วัดระดับหัวหน้าฝ่าย และหัวหน้างาน (Key Results Area Unit : KRA Unit) ลำดับที่ 3 กลยุทธ์ Roadmap1 : ………………………………… KRA Profile1 : ……………………………… หน่วยงานย่อยตามโครงสร้าง เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด KRA Unit หน่วยงานที่ 1 หน่วยงานที่ 2 หน่วยงานที่ 3 สัมพันธ์และสอดคล้อง กับเป้าประสงค์ สะท้อนผลสัมฤทธิ์ ภาพรวมขององค์กร …… สัมพันธ์และ สอดคล้องกัน (Alignment) กับ KRA Profile Key SOP สัมพันธ์และสอดคล้อง KRA Profile1 Customers และ Stakeholders MIS

12 กำหนดตัวชี้วัดระดับผู้ปฏิบัติงาน (Individual Indicators) ลำดับที่ 4
(ต่อ) กำหนดตัวชี้วัดระดับผู้ปฏิบัติงาน (Individual Indicators) ลำดับที่ 4 กลยุทธ์ : Roadmap : …………………………………………………………………………….. KRA Profile : …………………………………………………………………………. KRA Unit : …………………………………………………………………………….. ตำแหน่งของบุคลากรในหน่วยงานตามตำแหน่งและประเภทตำแหน่ง เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดรายบุคคล (Individual Indicators) ตำแหน่งที่ 1 (KRA ตาม JS) ตำแหน่งที่ 2 (KRA ตาม JS) ตำแหน่งที่ 3 (KRA ตาม JS) สัมพันธ์และสอดคล้อง กับเป้าประสงค์ สะท้อนผลสัมฤทธิ์ ภาพรวมขององค์กร สัมพันธ์และสอดคล้องกัน (Alignment) กับ KRA Unit Job Specification (JS) ที่มี KRA สัมพันธ์และสอดคล้องกับ KRA Unit [กิจกรรมตาม Key SOP] Customers และ Stakeholders MIS ศักยภาพและความพร้อมรายบุคคล (Capability)

13 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Individual จะเท่ากับ Unit
(ต่อ) สรุปความสัมพันธ์ของระดับตัวชี้วัด ลำดับที่ 5 Roadmap Profile1 Profile2 Profile3 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Profile จะเท่ากับ Roadmap รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Unit จะเท่ากับ Profile Unit Unit Unit3 Unit Unit2 Unit Unit Unit3 I1 I2 I3 I4 I5 I6 I7 I8 I9 I I11 I I13 I I15 I I I18 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Individual จะเท่ากับ Unit

14 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
(ต่อ) จัดทำแบบสรุปตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย รายบุคคล (Individual Indicators) ลำดับที่ 6 ตามหลักเกณฑ์ของ สนง.กพ. และ อ.กพ.กระทรวงฯ มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 1. ด้านปฏิบัติการ 1.1 …………………..…… เพื่อ 2. ด้านวางแผน 3. ด้านประสานงาน 4. ด้านบริการ (ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังตามระดับตำแหน่ง) งานหลัก วัตถุประสงค์ของงาน ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย จัดทำเหมือนกันทุกด้านทุกข้อ

15  มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Specification) ความรับผิดชอบหลัก (Owner)
(ต่อ) ลำดับที่ 7 จัดทำแผนปฏิบัติราชการรายบุคคล (Portfolio) ส่วนที่ 1 ประวัติการรับราชการ ส่วนที่ 2  มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (Job Specification) ความรับผิดชอบหลัก (Owner) ความรับผิดชอบสนับสนุน (Supporter) ส่วนที่ 3 คำสั่งมอบหมายงานให้ข้าราชการปฏิบัติราชการตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง  แบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ตามคำสั่งมอบหมายงาน ที่มีการระบุตัวชี้วัดหลักที่ครอบคลุมทั้ง Owner และ Supporter

16 ลำดับที่ 7 (ต่อ) ส่วนที่ 4 คำรับรองการปฏิบัติราชการ เพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล เพื่อการเลื่อนเงินเดือน ประกอบด้วย  แบบคำรับรองการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (1) ผู้ทำคำรับรอง (2) ผู้รับคำรับรอง (3) พยาน  แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล (ก.พ.) ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้รับการประเมิน ส่วนที่ 2 การสรุปผลการประเมินและระดับผลการประเมิน ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล ส่วนที่ 4 การรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ 5 ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป เอกสารแนบ 1 แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน เอกสารแนบ 2 แบบประเมินสมรรถนะ เอกสารแนบ 3 แบบประเมินงานมอบหมายพิเศษ (ถ้ามี)

17 แผนปฏิบัติการ (โครงการ) ที่ได้รับผิดชอบ และงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ
ลำดับที่ 7 (ต่อ) ส่วนที่ 5 แผนปฏิบัติการ (โครงการ) ที่ได้รับผิดชอบ และงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ส่วนที่ 6 แบบรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ 7 แบบเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ 8 ภาคผนวก (ถ้ามี)

18 กำหนดชื่อโครงการบูรณาการ
ขั้นที่ 8 กำหนดชื่อโครงการบูรณาการ Roadmap กรณี 1 กำหนดจาก Roadmap กรณี 2 กำหนดจาก KRA Profile 1. สามารถนำจำนวน KRA Profile หลายตัวมาบูรณาการเป็นโครงการ 1 โครงการได้ 2. หากกำหนดโครงการจาก KRA Profile จะต้องมีการนำ Roadmap มาบรรจุในโครงการด้วย KRA Profile KRA Unit Individual

19 บูรณาการกิจกรรมตามขั้นตอนปฏิบัติ ที่สามารถรวมและปฏิบัติร่วมกันได้
ขั้นที่ 9 เขียนแผนปฏิบัติการ (โครงการบูรณาการ) ที่จะทำให้ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายบรรลุ กำหนดงานและกิจกรรมที่จะทำให้ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายบรรลุ ลำดับที่ 1 งานที่จะทำให้ ตัวชี้วัดบรรลุ ขั้นตอนที่จะทำให้งานบรรลุ Roadmap งาน กิจกรรม การบูรณาการ KRA Profile KRA Unit Individual บูรณาการกิจกรรมตามขั้นตอนปฏิบัติ ที่สามารถรวมและปฏิบัติร่วมกันได้

20 เริ่มต้น แบบที่ 1 เขียนโครงการแบบบูรณาการ
(ต่อ) ขั้นที่ 9 เขียนแผนปฏิบัติการ (โครงการบูรณาการ) ที่จะทำให้ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายบรรลุ นำงานและกิจกรรมที่บูรณาการแล้วมาเขียนแผนปฏิบัติการ ลำดับที่ 2 เริ่มต้น แบบที่ 1 เขียนโครงการแบบบูรณาการ ปีต่อไป แบบที่ 2 เขียนโครงการแบบตาราง เหตุผลสัมพันธ์ หรือ แบบที่ 3 เขียนโครงการแบบตารางตาม ความนิยม

21 กรอบการพัฒนาระบบประเมินผลสัมฤทธิ์
IRBM3 1 จัดทำโครงสร้างการประเมินผลสัมฤทธิ์ 1.1 คณะกรรมการอำนวยการ 1.2 คณะกรรมการปฏิบัติการประเมินผล 1.3 คำรับรองการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2 3 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์ สื่อสาร / สร้างความเข้าใจ ปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ ประเมินผลโครงการ รายบุคคล รายโครงการ รายหน่วยงาน วิจัยประเมินผลโครงการ ภาพรวมองค์การ เชิงระบบ 4 5 6 (1) ค่าตอบแทน (2) สิ่งจูงใจ (3) เงินรางวัลตามผลงาน

22 จัดทำโครงสร้างการประเมินผลสัมฤทธิ์
ขั้นที่ 1 จัดทำโครงสร้างการประเมินผลสัมฤทธิ์ แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลสัมฤทธิ์ (ชุดที่ 1) ลำดับที่ 1  อำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ อำนวยการให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ ตามหลักการประเมินผลสัมฤทธิ์ กำหนดกรอบนโยบายและจุดเน้นการประเมินผลสัมฤทธิ์ กำหนดกรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมิติการประเมินผลสัมฤทธิ์ทั้ง 4 มิติ กำหนดกรอบหลักเกณฑ์เจรจาข้อตกลงผลงานค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด และวิธีการประเมินผล แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์

23  อำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ
ลำดับที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลสัมฤทธิ์(ชุดที่ 1) (ต่อ)  อำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ 6. กำกับคณะกรรมการปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์และหน่วยงานตามโครงสร้าง ให้เจรจาข้อตกลงผลงาน และประเมินผลสัมฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์อย่างมีมาตรฐาน 7. กำหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรสิ่งจูงใจ และจัดสรรสิ่งจูงใจตามเกณฑ์ค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 8. แก้ไขปัญหาอันเกี่ยวกับการจัดทำข้อตกลงและการประเมินผลสัมฤทธิ์

24 ลำดับที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ (ชุดที่ 2)  อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ เจรจาเพื่อตกลงผลการพัฒนาการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน (Assessment) แบบรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) ที่ได้จัดทำไว้แล้วและปรับปรุงให้เหมาะสมกับผลจากการดำเนินการตาม ข้อ 1 จัดทำคู่มือการประเมินผลสัมฤทธิ์เพื่อแจกแก่คณะกรรมการ บริหารโครงการ หน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้อง 4. ปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์อย่างมีมาตรฐาน

25 ลำดับที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ (ชุดที่ 2) (ต่อ)  อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ รวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการคำนวณการประเมินผลสัมฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์อย่างมีมาตรฐาน ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาจากการประเมินผลสัมฤทธิ์จากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลสัมฤทธิ์ ปฏิบัติการจัดสิ่งจูงใจตามเกณฑ์มาตรฐานของค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักและมิติของคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลสัมฤทธิ์ ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลสัมฤทธิ์

26 จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ลำดับที่ 3 จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ  แบบคำรับรองการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (1) ผู้ทำคำรับรอง (2) ผู้รับคำรับรอง (3) พยาน  แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล (ก.พ.) ส่วนที่ 1 ข้อมูลของผู้รับการประเมิน ส่วนที่ 2 การสรุปผลการประเมินและระดับผลการประเมิน ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล ส่วนที่ 4 การรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ 5 ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป เอกสารแนบ 1 แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน เอกสารแนบ 2 แบบประเมินสมรรถนะ เอกสารแนบ 3 แบบประเมินงานมอบหมายพิเศษ (ถ้ามี)

27 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์
ขั้นที่ 2 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์ ส่วนที่ 1 ที่มาและความจำเป็นในการประเมินผล สัมฤทธิ์ ส่วนที่ 2 วัตถุประสงค์ของการประเมินผล (1) ผลสัมฤทธิ์รายบุคคล (2) ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (3) ผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงาน (4) ผลสัมฤทธิ์ขององค์การ (5) ผลสัมฤทธิ์เชิงระบบ

28 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์
(ต่อ) ขั้นที่ 2 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์ ส่วนที่ 3 องค์ประกอบของการประเมินผลสัมฤทธิ์ ส่วนที่ 4 กรอบ มิติ โครงการ ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน ส่วนที่ 5 วิธีการติดตามและประเมินผล ส่วนที่ 6 แบบรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยตนเอง (SAR) ส่วนที่ 7 แบบรายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ภาพรวม

29 สื่อสารและสร้างความเข้าใจ
ขั้นที่ 3 สื่อสารและสร้างความเข้าใจ ซักซ้อมความเข้าใจให้ตรงกัน ของคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด ผู้บริหารสูงสุดสื่อสารแก่ผู้บังคับบัญชา ระดับรองลงมาและผู้ปฏิบัติงานให้ครบถ้วน (100%) เปิดกระบวนการสื่อสาร 2 ทาง จัดตั้ง War Room เตรียมการเจรจาข้อตกลง ไกล่เกลี่ย และ แก้ไขปัญหา

30 ขั้นที่ 4 ปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์
ขั้นที่ 4 ปฏิบัติการประเมินผลสัมฤทธิ์ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน (Performance) ลำดับที่ 1 ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบและมิติการประเมินผล ขั้นที่ 2 จัดโครงการและตัวชี้วัดลงตามมิติ ขั้นที่ 3 กำหนดน้ำหนักความสำคัญ (1) มิติ (2) โครงการ (3) ตัวชี้วัด ขั้นที่ 4 เลือกวิธีคำนวณ การติดตามและ ประเมินผล ขั้นที่ 5 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ขั้นที่ 6 วางระบบการเก็บรวบรวมผลการ ดำเนินการ ขั้นที่ 7 วางระบบการคำนวณการประเมินผล คณะกรรมการ อำนวยการ และ ปฏิบัติการ ประเมินผล

31 ขั้นตอนการปฏิบัติตามลำดับที่ 1
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบ และมิติการประเมินผลสัมฤทธิ์ (โดยคณะกรรมการชุดที่ 1 และชุดที่ 2)  กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ 1. โครงการและตัวชี้วัดที่จะทำให้วิสัยทัศน์บรรลุ (Vision) 2. นโยบายรัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข เขต และ สสจ. (Agenda based) 2.1 นโยบายทั่วไป 2.2 นโยบายเน้นหนักและเร่งรัดเป็นพิเศษ 2.3 นโยบายคุณภาพ 3. ประเด็นปัญหาและประเด็นต้องพัฒนาที่สำคัญที่สุด (Area based) 3.1 ด้านบริหาร 3.2 ด้านวิชาการ 3.3 ด้านบริการ 3.4 ด้านพื้นที่

32 หน่วยงานบริหารและวิชาการ (รพศ./รพท./รสต./ศสช./สอ.)
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบและมิติการประเมินผลสัมฤทธิ์ (โดยคณะกรรมการชุดที่ 1 และชุดที่ 2) (ต่อ)  มิติการประเมินผลสัมฤทธิ์ หน่วยงานบริหารและวิชาการ (สสจ./สสอ.) หน่วยงานบริการ (รพศ./รพท./รสต./ศสช./สอ.) มิติ 1 ประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการ มิติ 2 คุณภาพบริการ ประโยชน์สุขแก่ประชาชน มิติ 3 การพัฒนาองค์การ มิติ 4 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ แนวทางของก.พ.ร. มิติ 1 ประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ มิติ 2 คุณภาพบริการ มิติ 3 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ มิติ 4 การพัฒนาองค์การ

33 ขั้นที่ 2 จัดโครงการบูรณาการและตัวชี้วัดลงตามมิติการประเมิน ผลสัมฤทธิ์
ขั้นที่ 2 จัดโครงการบูรณาการและตัวชี้วัดลงตามมิติการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ (ตัวอย่างสำหรับหน่วยบริการ) มิติ 1 ประโยชน์สุขแก่ประชาชน มิติ 2 คุณภาพบริการ 1. โครงการ R ……………………………………………… R ……………………………………………….. P U I ฯลฯ มิติ 3 การพัฒนาองค์การ มิติ 4 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ

34 ขั้นที่ 3 กำหนดน้ำหนักความสำคัญของ มิติ โครงการ และตัวชี้วัด
 หลักเกณฑ์เบื้องต้น มิติทั้ง 4 มิติ น้ำหนักรวมกัน เท่ากับ 100 หรือมากกว่าก็ได้ คณะกรรมการชุดที่ 1 และชุดที่ 2 จัดทำหลักเกณฑ์การกำหนดน้ำหนักความสำคัญ และเป็นผู้กำหนดน้ำหนักลงมิติ และโครงการบูรณาการ [มติของคณะกรรมการชุดที่ 1 และชุดที่ 2 เป็นเอกฉันท์ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์] คณะกรรมการชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ต้องกลั่นกรองโครงการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ก่อน กำหนดน้ำหนักความสำคัญ

35  เทียบสัดส่วนตามจำนวนตัวชี้วัดของแต่ละมิติ
 วิธีปฏิบัติกำหนดน้ำหนักความสำคัญ (ปรับประยุกต์ได้ตามความเหมาะสม)  เทียบสัดส่วนตามจำนวนตัวชี้วัดของแต่ละมิติ (ตัวอย่างหน่วยบริการ) มิติ 1 ประโยชน์สุขแก่ประชาชน น้ำหนัก มิติ 2 คุณภาพบริการ โครงการที่ 1 จำนวน 15 ตัวชี้วัด โครงการที่ 6 จำนวน 5 ตัวชี้วัด โครงการที่ 2 จำนวน 10 ตัวชี้วัด โครงการที่ 7 จำนวน 5 ตัวชี้วัด 15 โครงการที่ 3 จำนวน 5 ตัวชี้วัด 60 โครงการที่ 8 จำนวน 5 ตัวชี้วัด โครงการที่ 4 จำนวน 20 ตัวชี้วัด โครงการที่ 5 จำนวน 10 ตัวชี้วัด มิติ 3 การพัฒนาองค์การ มิติ 4 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ โครงการที่ 9 จำนวน 10 ตัวชี้วัด โครงการที่ 11 จำนวน 6 ตัวชี้วัด 10 โครงการที่ 10 จำนวน 5 ตัวชี้วัด โครงการที่ 12 จำนวน 4 ตัวชี้วัด สรุปน้ำหนักความสำคัญ มิติที่ 1 ร้อยละ 60 มิติที่ 2 ร้อยละ 15 มิติที่ 3 มิติที่ 4 ร้อยละ 10

36 มิติ 1 ประโยชน์สุขแก่ประชาชน
 กำหนดน้ำหนักความสำคัญของโครงการบูรณาการ (ตัวอย่าง 1 มิติ) มิติ 1 ประโยชน์สุขแก่ประชาชน Vision Agenda based Area based รวม โครงการที่ 1 จำนวน 15 ตัวชี้วัด โครงการที่ 2 จำนวน 10 ตัวชี้วัด โครงการที่ 3 จำนวน 5 ตัวชี้วัด โครงการที่ 4 จำนวน 20 ตัวชี้วัด โครงการที่ 5 จำนวน 10 ตัวชี้วัด รวมน้ำหนักความสำคัญ 60 หรือ 1. Basedline Data (สารสนเทศ) 2. ข้อมูลทางวิชาการ (เกณฑ์มาตรฐาน) 3. เกณฑ์การยอมรับได้ (Threshold Analysis) หลักเกณฑ์ระดมสมอง อาจเทียบสัดส่วนตามจำนวนตัวชี้วัดแต่ละโครงการ

37  กำหนดน้ำหนักความสำคัญของตัวชี้วัด
โครงการ Vision Agenda based Area based น้ำหนักความสำคัญ R …………………………… P …………………………… U …………………………… I …………………………… ฯลฯ รวมน้ำหนักความสำคัญ หรือ 1. Basedline Data (สารสนเทศ) 2. ข้อมูลทางวิชาการ (เกณฑ์มาตรฐาน) 3. เกณฑ์การยอมรับได้ (Threshold Analysis) หลักเกณฑ์ระดมสมอง อาจเทียบสัดส่วนตามจำนวนตัวชี้วัดแต่ละโครงการ น้ำหนักรวมทุกตัวชี้วัดเท่ากับน้ำหนักของโครงการบูรณาการ

38 ขั้นที่ 4 เลือกวิธีการคำนวณการประเมินผล และวิธีการ ติดตามและประเมินผล
ขั้นที่ 4 เลือกวิธีการคำนวณการประเมินผล และวิธีการ ติดตามและประเมินผล  วิธีการคำนวณการประเมินผล (ภาคผนวกที่ 1 หน้าที่ ) วิธีที่ 1 เชิงปริมาณ 1 ตัวชี้วัด วิธีที่ 2 เชิงปริมาณมากกว่า 1 ตัวชี้วัด วิธีที่ 3 ตามขั้นตอนการดำเนินงาน (Milestone) 3.1 ตามขั้นตอนการดำเนินงาน 3.2 ตามขั้นตอนการดำเนินงานและเชิงปริมาณทั้งวิธีที่ 1 และ วิธีที่ 2 วิธีที่ 4 สำเร็จและไม่สำเร็จ (Pass / fail) วิธีที่ 5 เชิงคุณภาพ

39  วิธีติดตามและประเมินผล
(ภาคผนวกที่ 2 หน้าที่ ) รายงาน เยี่ยมหน้างาน (Site Visit) แบบประเมินด้วยตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประชุม (ทั้งคณะกรรมการบริหารโครงการ / คณะกรรมการ IRBM / คณะกรรมการบริหาร) หลักฐานประกอบ สังเกตหน้างานและผลกระทบของงาน สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ วิธีอื่น ๆ

40 ขั้นที่ 5 กำหนดเกณฑ์การให้ตามระดับคะแนน
 กรณีความหมายตัวชี้วัดไปในทางบวก ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 เกณฑ์ค่าเป้าหมาย  กรณีความหมายตัวชี้วัดไปในทางลบ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 เกณฑ์ค่าเป้าหมาย พิจารณาจาก  ช่วงห่างของแต่ละระดับคะแนนทั้ง 2 กรณี  หรือ  1. ข้อมูลพื้นฐานเดิม 2. เกณฑ์เชิงคุณภาพ 3. เกณฑ์มาตรฐานกลาง 4. เกณฑ์การยอมรับได้ (Threshold Analysis) 5. เกณฑ์เทียบเคียง (Benchmark) 6. เกณฑ์ทางสถิติ (Statistical Method)

41 ขั้นที่ 6 วางระบบเก็บรวบรวมผลการดำเนินงาน
1. เขียนคำอธิบายรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) (ภาคผนวกที่ 2 หน้าที่ ) 2. รายงานผลตามแบบฟอร์มรายงานด้วยตนเอง (ดูแบบฟอร์ม IRBM2 หน้าที่ ) 3. คณะกรรมการบริหารโครงการกลั่นกรองผลงานและจัดทำ SAR 4. คณะกรรมการ IRBM ตรวจสอบมาตรฐาน (ประเมินซ้ำ) และประมวลรวมตามเกณฑ์ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการติดตามและประเมินผล 9 วิธี 5. ใช้ชุดคำสั่ง (โปรแกรม) มาเป็นเครื่องมือดำเนินการ

42 [ทั้งนี้อาจใช้ชุดคำสั่ง (โปรแกรม) มาเป็นเครื่องมือดำเนินการ]
ขั้นที่ 7 วางระบบการคำนวณการประเมินผล  หลักเกณฑ์เบื้องต้น กรณี ตัวชี้วัดเชิงบวกหรือลบที่มีช่วงห่างของเกณฑ์ค่าเป้าหมายตามระดับคะแนน เท่ากัน ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ กรณี ตัวชี้วัดเชิงบวกหรือลบที่มีช่วงห่างของเกณฑ์ค่าเป้าหมายตามระดับคะแนน ไม่เท่ากัน ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ดำเนิน มาตรฐานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ กรณี วิธีการเชิงคุณภาพ (อาจใช้การลงมติที่ใช้หลักเกณฑ์วิชาการเข้ามามีส่วนร่วมด้วย) [ทั้งนี้อาจใช้ชุดคำสั่ง (โปรแกรม) มาเป็นเครื่องมือดำเนินการ]  วิธีปฏิบัติในการคำนวณการประเมินผล 1. ให้เริ่มต้นด้วยการประเมินผลสัมฤทธิ์รายโครงการ จะทำให้ได้คะแนนผลสัมฤทธิ์รวมทั้งรายตัวชี้วัดและรายโครงการ 2. ให้ใช้ รหัสบุคคล สรุปในแต่ละบุคคลว่า (1) จำนวนตัวชี้วัดรายบุคคล (2) น้ำหนักความสำคัญตามจำนวนตัวชี้วัด (3) ค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (4) ปรับน้ำหนักความสำคัญ ร้อยละ 100 และ (5) ค่าคะแนนเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล

43 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ)
ลำดับที่ 2 ขั้นที่ 1 จัดทำแบบประเมินสมรรถนะ ขั้นที่ 2 เลือกมาตรวัดสมรรถนะ ขั้นที่ 3 ผู้บังคับบัญชาประเมินสมรรถนะผู้ปฏิบัติงาน เพื่อหา GAP ขั้นที่ 4 ผู้ปฏิบัติงานประเมินสมรรถนะตนเอง เพื่อหา GAP ขั้นที่ 5 ผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงานร่วมกันสรุป GAP ขั้นที่ 6 นำ GAP ที่ได้จากขั้นที่ 5 มาเทียบกับมาตรวัดเพื่อกำหนดระดับคะแนนและคำนวณคะแนนสมรรถนะ

44 ปฏิบัติการประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล
ลำดับที่ 3 ขั้นที่ 1 จัดทำบัญชีรายชื่อและรหัสของบุคลากรตามโครงสร้างการบริหาร (ตัวอย่าง)

45 จัดลำดับความสำคัญของโครงการ เพื่อการประเมินผลสัมฤทธิ์
ลำดับที่ 4 คำนวณค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก รายโครงการ จัดลำดับความสำคัญและคณะกรรมการ ลงมิติเลือกประเมินผลโครงการ ดำเนินการประเมินผลโครงการ (1) ประเมินผลโครงการด้วยตนเอง (2) องค์การภายนอกดำเนินการ ประเมินผล

46 ปฏิบัติการประเมินผลรายโครงการ
ลำดับที่ 5 ปฏิบัติการประเมินผลรายโครงการ ประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) (1) คุณภาพโครงการ (2) ระบบสนับสนุนโครงการ (3) ต้นทุนโครงการ (4) ความยั่งยืนของโครงการ วิจัยประเมินผลโครงการ (Project Research Evaluation) (1) ความสัมพันธ์ของตัวแปรและปัจจัย (2) ข้อค้นพบของตัวแปรและปัจจัย

47 ขั้นที่ 5 จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์
ขั้นที่ 5 จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ บทนำ หลักเกณฑ์และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล ระเบียบวิธีการประเมินผล ผลการประเมินผล (1) รายงานประจำปี (2) รายงานการประเมินความสำเร็จ (3) รายงานการประเมินประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของโครงการ สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะจากการประเมินผล ภาคผนวก

48 ขั้นที่ 6 บริหารค่าตอบแทนสิ่งจูงใจ และเงินรางวัลตามผลงาน
ขั้นที่ 6 บริหารค่าตอบแทนสิ่งจูงใจ และเงินรางวัลตามผลงาน บริหารค่าตอบแทน ตามหลักเกณฑ์ของ ก.พ. สิ่งจูงใจ ตามหลักเกณฑ์การจัดสวัสดิการที่แตกต่างจากกฎหมายกำหนด เงินรางวัลตามผลงาน ตามหลักเกณฑ์ของ ก.พ.ร.

49


ดาวน์โหลด ppt ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง คณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google