งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
111/2 หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน รหัสทะเบียน /1-003 โทรศัพท์

2 1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.) 1.1 ประวัติความเป็นมา
1.1 ประวัติความเป็นมา  เดิมชื่อกลุ่มสตรีสหกรณ์หนองยางฟ้า-หนองยางไคล  ก่อตั้งเมื่อปี 2537 โดยการสนับสนุนจากสำนักงานสหกรณ์ อำเภอแม่ทา  รวมตัวเพื่อแปรรูปผลผลิตเกษตร การทำน้ำพริกตาแดง  จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ปี 2548 มีสมาชิก 22 ราย  ปัจจุบันมีสมาชิกเพิ่ม 60 คน มีการระดมหุ้นๆละ 100 บาท เป็นเงิน 35,400 บาท

3 1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.)
1.2 การบริหารงานวิสาหกิจชุมชน คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน 7 คน ฝ่ายจัดซื้อวัตถุดิบ ฝ่ายตลาด ฝ่ายควบคุมการผลิต ฝ่ายการเงินและบัญชี สมาชิก ปัจจุบัน 60 คน ลงหุ้น ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 35,400 บาท กฎระเบียบวิสาหกิจชุมชน - มีระเบียบข้อบังคับของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 35 ข้อ - ประกอบด้วยทั้งเรื่องของการบริหารจัดการการกลุ่ม สมาชิก คณะกรรมการเงินออม การแบ่งปันผลประโยชน์

4 สมาชิก 50 % คณะกรรมการ 20 % สมทบกองทุน 10% สาธารณประโยชน์ 5%
1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.) การแบ่งปันผลประโยชน์ สมาชิก 50 % คณะกรรมการ 20 % สมทบกองทุน 10% สาธารณประโยชน์ 5% ศึกษาดูงาน 10%

5 กิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ปี 2551
แปรรูปลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 2,000 กก. แปรรูปน้ำพริกลาบ 4,000 ขวด แปรรูปน้ำพริกตาแดง 5,000 กระป๋อง แปรรูปทำแหนมหมู กิโลกรัม ขนมทองพับลำไย

6 แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
1.ฝึกอบรมความรู้ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ -ขนมทองม้วน ทองพับจากลำไย -ข้าวแต๋นน้ำลำไย -ขนมอบ (เค้กลำไย คุกกี้ลำไย ขนมปัง) 2. จัดสร้างโรงเรือนแปรรูป 1 หลัง งบองค์การบริหารส่วนตำบล ,000 บาท 3. จัดสร้างเตาตากลำไยพลังแสงอาทิตย์ งบจากสหกรณ์จังหวัดลำพูน 99,000 บาท

7 แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
4. จัดทำโครงการของบประมาณฝึกอบรม ความรู้จากการทำขนมจากสำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์และศึกษาจาก กศน. 5. จัดทำป้ายสลากผลิตภัณฑ์และกล่องบรรจุภัณฑ์ (ลำไย) งบประมาณจากกรมส่งเสริมการเกษตร โครงการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกรและ เครือข่ายปี กิจกรรมพัฒนาการแปรรูป ผลผลิตเกษตร งบประมาณ 20,000 บาท

8

9

10 2. การดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ,ตำบล
ในการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน 2.1 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน -ศึกษาและทำความเข้าใจใน พรบ.ส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 -ประชาสัมพันธ์เชิญชวนการจดทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชนทุกรูปแบบ -รับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ -ประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน -ส่งเสริมและสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชน -ขับเคลื่อนผ่านคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

11 2. การดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ,ตำบล
-ส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดย การจัดทำเวทีเรียนรู้ -ประสานงานและบูรณาการกับหน่วยงานภาคีที่ เกี่ยวข้องและ อปท. -เยี่ยมเยียน ติดตามผล การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน -ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผลงาน -ดำเนินงานตาม พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 2548 ทุกขั้นตอน

12 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
1. วิเคราะห์ SWOT -จุดแข็ง -ได้รับรางวัลดีเด่นด้านการบริหารจัดการด้าน บัญชี ปี 2550 ระดับจังหวัดและระดับภาคและรองชนะเลิศที่ 2 ระดับประเทศ -ผลิตภัณฑ์เป็นผลผลิตเกษตรที่มีในท้องถิ่น ราคาถูก -ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน อย. -ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ และเอกชน -มีการระดมหุ้นจากสมาชิกทุกเดือน -กลุ่มได้รับการยอมรับจากชุมชน

13 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
1. วิเคราะห์ SWOT - จุดอ่อน -สมาชิกขาดความรู้ด้านการผลิต -ตลาดมีน้อย ไม่แน่นอน - คณะกรรมการบางคนรับผิดชอบหลาย ตำแหน่ง ไม่มีเวลา เข้าร่วมอบรม - สมาชิกส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง ไม่สามารถ ไม่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกครั้ง

14 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
1. วิเคราะห์ SWOT @โอกาส -ผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมการหมู่บ้านให้การสนับสนุน -กลุ่มได้รับการสนับสนุนจาก อปท.

15 ๑ข้อจำกัด - ด้านการตลาดมีจำกัด - ต้นทุนการผลิตสูงและราคาไม่แน่นอน

16 -พัฒนาสังคมฯ -พัฒนาชุมชน -อปท. -กศน. -ธกส. -สาธารณสุข
ภาคีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -สหกรณ์ -ตรวจบัญชีสหกรณ์ -พัฒนาสังคมฯ -พัฒนาชุมชน -อปท. -กศน. -ธกส. -สาธารณสุข ปัญหาการทำงานของกลุ่ม -ตามจุดอ่อน และข้อจำกัดในการวิเคราห์ SWOT

17 แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหนองยางไคลพัฒนา หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
กิจกรรม ปัญหา แนวทางพัฒนา ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 1.ผลิตภัณฑ์ยังไม่ได้รับรองมาตรฐาน อย. 2.ตลาดมีน้อย 3.บรรจุภัณฑ์ยังไม่ได้มาตรฐาน 1.ขอคำแนะนำจากสารสาธารณสุขจังหวัด 2.หาตลาดต่างจังหวัดออกงานจำหน่ายสินค้า 3.จัดทำป้ายฉลากและกล่องบรรจุลำไยโดยใช้งบกรมส่งเสริมการเกษตร ขนมทองม้วน ยังไม่มีความรู้การทำขนม 1.ขอวิทยากรจาก กศน.และพัฒนาสังคมฯ ขนมอบทุกชนิดที่มีส่วนผสมของลำไย 1.ยังไม่มีความรู้การทำขนมอบ 2.ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ 1.ของบประมาณจากสำนักงานพัฒนาสังคมฯ และอบต.ทาทุ่งหลวง

18 หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง
แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหนองยางไคลพัฒนา หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ปี 2551 ที่ กิจกรรม จำนวน ช่วงระยะเวลา งบประมาณ (บาท) หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน 1. ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 2,500 กก. 25 กค.-กย. 500,000 กู้ธนาคาร ออมสิน 2. จัดสร้างโรงเรือนแปรรูป 1 หลัง เมย. 300,000 อบต. 3. ปรับโรงเรือน(จัดสร้างเตาอบพลังแสงอาทิตย์) 1 เตา มิย. 99,000 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด 4. จัดทำฉลาก บรรจุภัณฑ์ ชนิดละ 5,000 ชิ้น พค.-มิย. 20,000 พัฒนาสังคมฯ 5. ของบประมาณอบรมการทำขนมอบการทำน้ำลำไยพร้อมดื่ม 3 วัน ตค.-พย. 10,000 กศน. 6. อบรมทำขนมทองม้วนลำไย 1 วัน 1,000 กษอ.แม่ทา วิทยากร

19 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google