งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง ผู้ร่วมดำเนินการ ผส.ชป. 10, 11, 12, 13 ชคป. ในเขต สชป. 10, 11, 12, 13 ผคญ. 4, 14 กงบ., กผง., กกพ., สรธ., สคก., สจก.

2 โครงการชลประทานจังหวัด แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา
(RID-CEO)

3 1. การมอบอำนาจด้านการบริหารงานบุคคล
1.1) การแต่งตั้ง และการดำเนินการทางวินัย - มีความเห็นคงตามที่กรมชลประทานได้มอบอำนาจ ให้ ผวจ. CEO 5 จังหวัดเดิม (เห็นด้วยกับคำสั่ง ข.397/2545 และ ข.222/2546) 1.2) การเลื่อนขั้นเงินเดือน - ผวจ. เสนอขอรับความดีความชอบ และกรมฯ จะต้อง พิจารณาให้เป็นกรณีพิเศษ

4 2. การบริหารงบประมาณ ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.187/2546 โดยขอแก้ไขดังนี้
ให้ตัดคำว่า 5 จังหวัดเดิมออก อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเป็นรายจ่ายอื่นได้ และต้อง ให้ตรงกับแผนงานเดียวกัน โดยไม่ให้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ

5 ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.148/2546
3. ด้านการพัสดุ ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.148/2546 ไม่มอบเพิ่มเติม

6 กรณีฉุกเฉินเร่งด่วนเท่านั้น
4. การมอบอำนาจสั่งการ กรณีฉุกเฉินเร่งด่วนเท่านั้น เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง

7 ไม่มอบ 5. การอนุมัติ / อนุญาต
เพราะจะต้องพิจารณาโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างซึ่ง เป็นงานด้านวิศวกรรม และมีผลต่อความปลอดภัย แก่ชีวิตและทรัพย์สิน

8 6. ด้านอื่นๆ ควรจัดให้มีการระดมสมอง ภายหลังที่ได้เป็น RID-CEO ระยะหนึ่งเพื่อจะได้ทราบถึงทิศทาง ปัญหา จุดแข็ง และจุดอ่อน ของ CEO จังหวัด

9 สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง ผู้ร่วมดำเนินการ ผส.ชป. 10, 11, 12, 13 ชคป. ในเขต สชป. 10, 11, 12, 13 ผคญ. 4, 14 กงบ., กผง., กกพ., สรธ., สคก., สจก.

10 โครงการชลประทานจังหวัด แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา
(RID-CEO)

11 บทบาท / อำนาจหน้าที่ และขั้นตอนการดำเนินงาน
บทบาท / อำนาจหน้าที่ และขั้นตอนการดำเนินงาน เมื่อท่านเป็น RID-CEO ท่านต้องการมีบทบาท / อำนาจหน้าที่อย่างไร เพื่อทำงานร่วมกับจังหวัด และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างไร จึงจะมีประสิทธิภาพ

12 1.1 การวางแผน บทบาท ขั้นตอน
เป็นหน่วยงานในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและบริหารการจัดการน้ำของจังหวัด ขั้นตอน เสนอโครงการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อระดมความคิด การมีส่วนร่วมจาก อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนเกษตรกร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแหล่งน้ำ

13 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อจัดทำแผนหลัก (Master Plan) ในการพัฒนาลุ่มน้ำย่อยและลุ่มน้ำหลักของจังหวัด
เสนอแผนหลักให้คณะกรรมการจังหวัดพิจารณา และปรับแก้เพื่อเสนอ ผวจ. อนุมัติ

14 1.2 การประสานงานส่วนราชการและ อปท.
บทบาท เป็นผู้ประสานงาน ขั้นตอน รวบรวมปัญหาการพัฒนาแหล่งน้ำจากส่วนราชการและ อปท. แล้วนำเสนอเข้าสู่ที่ประชุมจังหวัด เพื่อพิจารณา แนวทางการแก้ไขปัญหา

15 1.3 กระบวนการมีส่วนร่วม บทบาท เป็นเจ้าภาพเรื่องน้ำ ขั้นตอน
เข้าร่วมกับคณะกรรมการฯ จังหวัด

16 1.4 การรายงาน บทบาท ประชาสัมพันธ์เรื่องน้ำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาและการบริหารจัดการน้ำ ขั้นตอน ให้คำปรึกษา-แนะนำการวางแผนในการพัฒนา จัดทำสื่อเผยแพร่ จัดทำระบบสารสนเทศ (IT)

17 1.5 การกำหนดตัวชี้วัด บทบาท เป็นผู้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จและรายงานผล
ขั้นตอน ติดตามรวบรวมข้อมูลการพัฒนาแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นในจังหวัด เช่น พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นไปตามแผนที่กำหนด

18 1.6 การติดตามประเมินผล บทบาท เป็นผู้วิเคราะห์และติดตามงานในพื้นที่
ขั้นตอน กำหนดขั้นตอนในการรายงาน ความต้องการของกิจกรรม การพัฒนาแหล่งน้ำ รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการรายงาน เพื่อประเมินผลและวิเคราะห์ ใช้เป็นเครื่องมือในการเร่งรัดแผนงานต่างๆ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย

19 1.7 การบริหารบุคคล/งบประมาณ
บทบาท เป็นหน่วยงานหลักในการเบิกจ่ายงบประมาณ ขั้นตอน ดำเนินการตามหน้าที่ที่กำหนด

20 1.8 ระบบข้อมูลสารสนเทศ บทบาท
เป็นหน่วยงานหลักที่จะต้องมีข้อมูลในการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการน้ำ ขั้นตอน จัดทำระบบสารสนเทศ GIS ให้สอดคล้องศูนย์สารสนเทศของจังหวัด

21 1.9 อื่นๆ ขอให้กรมชลประทานพิจารณา/ทบทวน แนวทางที่จะให้ ชคป. สามารถที่จะแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำโดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทาน ซึ่งปัจจุบันกรมชลประทานไม่มีแผนงาน/งบประมาณ ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ที่เกินความสามารถของ อปท. ที่มีลักษณะคล้ายงาน ชป.เล็ก แต่ขนาด/วงเงินน้อยกว่า หรืองานขุดลอกที่มีอาคารประกอบ (ท่อลอด, ฝาย, คันกั้นน้ำ เป็นต้น)


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google