งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ  

2 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพนำความรู้จากบทที่ 3 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติมาใช้   รายได้ประชาชาติดุลยภาพ คือ รายได้ประชาชาติ ณ ระดับเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมพอดี หรือY = DAE

3 1. วิเคราะห์แนวรายได้ประชาชาติ เท่ากับ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล DAE = C + I ระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจมีรัฐบาล DAE = C +I + G ระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกิจเปิด DAE = C + I + G + X – M

4 2. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด
2. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับ ส่วนอัดฉีด ระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ S = I ระบบเศรษฐกิจ 3 ภาคเศรษฐกิจ S + T = I + G ระบบเศรษฐกิจ 4 ภาคเศรษฐกิจ S + T + M = I + G + X ทั้ง สองแนวการวิเคราะห์ ให้ปัจจัย เช่นราคาสินค้า อัตราค่าจ้าง อัตราดอกเบี้ย คงที่

5 3.การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติกรณีระบบเศรษฐกิจปิดไม่มีรัฐบาล แนว Y = DAE การวิเคราะห์ได้จากตาราง และ รูปกราฟ DAE = C + I หรือ DAE = Y C = Y ( Y = Yd ) I = DAE = Y ตาราง และ กราฟ

6 4. วิเคราะห์แนวส่วนรั่วไหล เท่ากับส่วนอัดฉีด กรณีระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคเศรษฐกิจ S = I ภาคครัวเรือน แบ่งรายได้ เป็นสองส่วน คือ การบริโภค และ การออม การออม ถือว่ารั่วไหล แต่สถาบันการเงินนำไปให้ภาคธุรกิจกู้เพื่อนำมาลงทุนใหม่ การออมที่เกิดขึ้นจริง = การออมที่ตั้งใจ การลงทุนที่เกิดขึ้นจริง = การลงทุนที่ตั้งใจ + การลงทุนที่ไม่ตั้งใจ

7 5. ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ การลงทุนที่ตั้งใจ = การออมที่ตั้งใจ หน่วยผลิตวางแผนล่วงหน้าในการลงทุน คือ ตั้งใจแต่ DAE อาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่า Y ส่งผลต่อส่วนเปลี่ยนสินค้าคงเหลือ การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นลบ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีลดลง การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นบวก คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีเพิ่มขึ้น การลงทุนที่ไม่ตั้งใจเป็นศูนย์ คือ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปีไม่เปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ ได้ทั้ง ตารางและ กราฟ

8 6. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ หรือเส้น DAE
6. การเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ หรือเส้น DAE การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่ง ( C, I, G, X, M ) การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบ DAE มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ ดุลยภาพ ถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางลดลง ระดับรายได้ประชาชาติจะลดลง ถ้าส่วนประกอบเปลี่ยนแปลงในทางเพิ่มขึ้น ระดับรายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น

9 7. ตัวทวี ( Multiplier ) ความหมาย เป็นมาตรการวัดขนาดของการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ขึ้นอยู่กับ MPC สมมติ โรงงานลงทุนเพิ่ม 15 ล้านบาท เป็นค่าขยายโรงงานซื้อเครื่องจักรใหม่ ให้ค่า MPC = เงินลงทุนที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายรอบแรก จะตกเป็นของผู้รับเหมา คนขายเครื่องจักร ผู้มีรายได้นี้จะแบ่งรายได้ เป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งเก็บออม อีกส่วนใช้จ่ายเป็นรอบสอง ล้านบาท ( 15 *0.75 ) จะใช้จ่ายในรอบ ต่อ ๆไป

10 รอบ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ การเปลี่ยนแปลงของการบริโภค การเปลี่ยนแปลงของการออม การใช้จ่าย Y MPC = MPS = สุดท้าย รวม

11 สูตร การเปลี่ยนแปลงของ Y = 15 { 1 + 0. 75 + 0. 752 + ……. 75 n}
สูตร การเปลี่ยนแปลงของ Y = { …… n} = 15 { / 1 – 0.75 } = 15 { 1 / } = ค่า 0.75 คือค่า MPC และค่า 0.25 คือค่า MPS ส่วนเปลี่ยนแปลงY = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / 1 – MPC } = ส่วนเปลี่ยนแปลง I { 1 / MPS } ค่า I เป็นส่วนประกอบของ DAE ถ้า I เปลี่ยน DAE เปลี่ยนด้วย ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = k คูณด้วย ส่วนเปลี่ยนของ DAE { K คือ ค่าตัวทวี }

12 ตัวทวีอย่างง่าย สมมติระบบเศรษฐกิจ 2 ภาคกรณีการลงทุนแบบอิสระให้ I เป็นการลงทุนอิสระ I = Io DAE = C + I C = Co + bYd DAE = Co + Io + bY Y = DAE Y = Co + Io +bY Y – bY = Co +Io {1 – b }Y = Co + Io Y = 1 / 1 – b { Co + Io } ค่า Co หรือ Io เพิ่มหรือลด ค่า Y ก็จะเพิ่มหรือลดด้วย โดยผ่านตัวทวี

13 ส่วนเปลี่ยนแปลง Y / ส่วนเปลี่ยนแปลง Co เท่ากับ 1 / 1-b หรือ ส่วนเปลี่ยนแปลง Y = 1 / 1-b {ส่วนเปลี่ยนแปลง Co} ตัวทวีคูณ หรือ K = 1 / 1 – b ค่าของตัวทวี ขึ้นอยู่กับMPC ถ้า MPC สูง ค่าตัวทวี จะสูงด้วย ให้ A = Co + Io Z = b ค่าของตัวทวี = / b หรือ 1 / MPC


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google