ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
2
ความหมายของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
ความหมายของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ หมายถึง ศูนย์รวมของวิชาความรู้ที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ บุคคลสิ่งประดิษฐ์ วัตถุ อาคาร สถานที่ ซึ่งมีอยู่กระจัดกระจาย ทั้งชุมชนเมืองและชุมชนชนบท อันเป็นขุมทรัพย์แห่งปัญญาที่แทรกซึมอยู่ในวิถีชีวิตของมนุษย์เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ค้นพบได้อย่างไม่รู้จบ ที่มา :
3
ประเภทของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
1. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทบุคคล 2. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติ 3. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทสื่อ 3.1 สื่อทางด้านกายภาพ 3.2 สื่อทางด้านวิธีการ 3.2.1 สื่อท้องถิ่น 3.2.2 สื่อกิจกรรม 4. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทวัตถุและอาคารสถานที่
4
ตัวอย่างแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทสื่อ
5
ประโยชน์ของแหล่งการเรียนรู้
1. ทําให้ผู้เรียนมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเองในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2. ผู้เรียนมีโอกาสตัดสินใจในการเลือกเรียนตามช่องทางที่เหมาะกับความสามารถของตนเอง 3. ทําให้กระบวนการเรียนรู้ง่ายขึ้น 4. ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก 5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ 6. ทําให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น 7. ลดเวลาในการเรียนรู้และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้มากกว่าเดิมในเวลาเท่ากัน 8. ทําให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทั้งในแนวกว้างและแนวลึก 9. ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักเสาะหาแหล่งการเรียนรู้ 10. ฝึกให้ผู้เรียน คิดเป็นและสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
6
แหล่งการเรียนรู้ไอซีที
7
ความหมายของเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง ขอบเขตแห่งความสัมพันธ์ของกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีลักษณะประสานติดต่อสัมพันธ์ เชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือหลายกิจกรรม ระหว่างคนกับคน คนกับกลุ่ม และกลุ่มกับกลุ่ม กลุ่มเครือข่ายเทคโนโลยี ซึ่งใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเป็นเครื่องมือหลักในการสัมพันธ์และเชื่อมโยงคนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสูงในภาคสังคมเมือง ธุรกิจ และสถาบันการศึกษา ที่มา :
8
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้ 1. สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก 2. เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม 3. สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือน ชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
9
องค์ประกอบด้านโทรคมนาคมกับเครือข่ายการเรียนรู้
1. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) 3. ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่ใช้เป็นช่องทางในการเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบเครือข่ายภายในเครือข่ายการเรียนรู้ในประเทศไทย
10
องค์ประกอบด้านการเรียนรู้ 5 ด้านคือ
1. Authentic learning การเรียนรู้ที่แท้จริงอยู่ในโลกจริงหรือชีวิตจริง 2. Mental Model Building การเรียนรู้ในระดับสร้างกระบวนทัศน์อาจมองอีกมุมหนึ่งว่า เป็น authentic learning แนวหนึ่ง คือ การอบรมบ่มนิสัย หรือการปลูกฝังความเชื่อ 3. Internal Motivation การเรียนรู้ที่แท้จริงขับดันด้วยฉันทะ 4. Multiple Intelligence มนุษย์เรามีพหุปัญญา (Multiple Intelligence) และเด็กแต่ละคนมีความ ถนัดหรือปัญญาที่ติดตัวมาแต่กำเนิดต่างกัน 5. Social Learning การเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคม หากยึดหลักการนี้ ก็จะสามารถออกแบบ กระบวนการทางสังคมเพื่อให้ศิษย์เรียนสนุก
11
THE END
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.