ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKasika Kongkatitum ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คําสั่งกรมวิชาการเกษตร ที่ 760/2557 เรื่อง การจัดการทําลายหรือดําเนินการ กับวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ที่กรม วิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 มิถุนายน 2557
2
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2 สรุปสาระสำคัญ 1. คําสั่งนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 2. วัตถุอันตรายตามคําสั่งนี้ หมายความว่า วัตถุ อันตรายที่กรมวิชาการเกษตร เป็นผู้รับผิดชอบตาม ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความใน มาตรา 18 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวัตถุ อันตราย พ. ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
3
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ 1. ให้วัตถุอันตรายไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพี เอ็น (EPN) ที่อยู่ในความครอบครองของผู้ได้รับใบอนุญาต นําเข้า ใบอนุญาตผลิต หรือใบอนุญาตมีไว้ในครอบครอง ก่อน วันที่ประกาศกําหนดให้วัตถุอันตรายนั้นเป็นวัตถุอันตรายชนิด ที่ 4 ต้องแจ้งปริมาณที่มีไว้ในครอบครอง ภายใน 7 วัน นับถัด จากวันที่ประกาศกําหนดให้ไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพีเอ็น (EPN) เป็นวัตถุอันตราย ชนิดที่ 4 มีผลบังคับใช้ แล้ว ดังนี้ 1.1 กรุงเทพมหานคร แจ้งที่สํานักควบคุมพืชและวัสดุ การเกษตร 1.2 ภูมิภาค แจ้งที่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จังหวัดจันทบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัดสงขลา
4
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4 การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้อง ตรวจสอบ 2. ให้ผู้มีไว้ในครอบครองไดโครโตฟอส (dicrotophos) และ อีพีเอ็น (EPN) ส่งมอบ ไดโครโตฟอส (dicrotophos) และอีพี เอ็น (EPN) ที่อยู่ในครอบครอง ตามข้อ 4 ต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่แจ้งปริมาณการ ครอบครอง ดังนี้ 2.1 กรุงเทพมหานคร แจ้งที่สํานักควบคุมพืชและวัสดุ การเกษตร 2.2 ภูมิภาค แจ้งที่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จังหวัดจันทบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัดสงขลา
5
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5 จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.