งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
สุขุม หนูสวัสดิ์ สบ.,สม. หัวหน้างานโรคติดต่อทั่วไป สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์

2 วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค
วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการควบคุมโรค

3 ความครอบคลุมในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และนักเรียน ปี 2542, 2546, 2551, 2553, 2554
Vaccine 2542 2546 2551 2553* 2554* BCG 98 99 100 13.58  18.16 HB3 95 96 53.45  55.98 DTP3 97 55.06  57.08 OPV3 55.01 59.44 M/MMR 94 50.79  47.41 JE2 84 87 55.18  54.69 JE3 - 62 89 53.38  52.02 DTP4 90 93 55.60 DTP5 54 79 45.93 46.41  MMR (ป.1)  94 91  6.22  26.07 dT (ป.6) 96  94  4.99 18.79  National Immunization Program, Thailand * รายงานจาก สนย. 3

4 ประชากรกลุ่มเสี่ยง.... Keep Up Catch Up Mop Up
พื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร พื้นที่เข้าถึงยาก แรงงานย้ายถิ่น แรงงานต่างด้าว แรงงานผิดกฎหมาย ชุมชนแออัด Keep Up Catch Up Mop Up ติดตามผลการดำเนินงาน ความครอบคลุม การเฝ้าระวังโรค หน่วยบริการเคลื่อนที่ รณรงค์ให้วัคซีนเสริม

5 แนวทางการตรวจสอบและ ให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัด
 ระยะก่อนเกิดโรค  ระยะที่มีการระบาด

6 ระยะก่อนเกิดโรค 1. ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

7 ระยะก่อนเกิดโรค 1. การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของเด็ก กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ และการให้วัคซีน เพิ่มเติม 1.1 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็กอายุ ครบ 1 ปี 1.2 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก < 7 ปี 1.3 การได้รับวัคซีน M/MMR ของเด็ก ป.1 – ม.6 1.4 สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของ กลุ่มเป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.3

8 ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาส (> 95%) ครั้งที่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 : นักเรียนชั้น ป. 1

9 ทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนเด็กก่อนวัยเรียน

10 การให้วัคซีน MMR ในเด็กก่อนวัยเรียน จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
M/MMR การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับวัคซีน ครั้งนี้ให้ MMR 1 ครั้ง และ ให้อีก 1 ครั้ง เมื่อเข้า ป.1 ไม่แน่ใจ ได้รับวัคซีนก่อนอายุ 9 เดือน เคยได้มาแล้ว หลังอายุ 9 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR จนกว่า เด็กจะเข้าเรียนชั้น ป. 1

11

12 การให้วัคซีน MMR ในเด็กวัยเรียน จำแนกตามประวัติการได้รับวัคซีน
ประวัติการได้รับวัคซีน M/MMR การให้วัคซีน ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี MMR 1 ครั้ง ได้รับครั้งแรก และ ไม่ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี ได้รับครั้งแรก และ ไม่แน่ใจ ว่าได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี หรือไม่ ไม่ได้รับครั้งแรก/ไม่แน่ใจ แต่ ได้รับเมื่อ ป.1 หรือ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR

13 ระยะก่อนเกิดโรค 1. ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของ เด็กในพื้นที่และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค

14 ระยะก่อนเกิดโรค 2. การให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง
@ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร @ เด็กด้อยโอกาส @ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ

15 กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน (1.4)
กรณีมีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้ MMR แก่เด็กทุกคน โดยไม่คำนึงถึงประวัติการเจ็บป่วย & ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต

16 แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด
 เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

17 แนวทางการให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด
2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็นจำนวนมาก ดำเนินการควบคุมโรค พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 1 ราย ดำเนินการเช่นเดียวกับ ในระยะก่อนเกิดโรค

18 เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายใน 14 วัน
ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็น จำนวนมาก

19 กรณีหัดระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี)
ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที  รีบให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน – 6 ปีทุกคน ในหมู่บ้าน+หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน ให้แยกเลี้ยงไม่ให้คลุกคลีกับผู้ป่วย

20 กรณีหัดระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6)
ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ได้รับ รีบให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงาน ผู้ป่วยรายแรก ไม่ต้องให้ MMR เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค

21 การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม
“แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ 2533 ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขต การให้วัคซีน ขึ้นกับผลการสอบสวนและแบบประเมินฯ ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 เคยได้รับ ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ > 2 % ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR ไม่ให้ MMR ให้ MMR เฉพาะกลุ่มอายุ > 2% ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

22 แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (1)
ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น การระบาดของโรค สถานที่พบผู้ป่วย ตำบล อำเภอ จังหวัด วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก / / วันที่พบผู้ป่วยรายแรก / /

23 แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (2)
อัตราป่วยแยกรายกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ จำนวนป่วย จำนวนทั้งหมด Attack rate (%) 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม

24 แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (3)
จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก ขวด วันที่เริ่มให้วัคซีน / / ผู้ให้ข้อมูล สถานที่ทำงาน เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ วันที่ส่งแบบประเมิน / /

25 ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด
มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน ค้นหากลุ่มเสี่ยง  เด็กก่อนวัยเรียน  เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ ให้ MMR ทุกคน ให้ MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน

26 มาตรการในการป้องกัน และควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
เติมให้เต็ม: ให้วัคซีนประชากรกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เช่น ในพื้นที่ห่างไกล เข้าถึงยาก มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน ซึ่งเป็นกลุ่มที่อาจไม่ได้รับวัคซีน หรือได้รับไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด เข้มแข็งเฝ้าดู: เฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และมีการรายงาน อย่างรวดเร็ว พร้อมดำเนินการสอบสวนและควบคุมโรค หยุดหมู่มารร้าย: แยกผู้ป่วยป้องกันการแพร่กระจายโรค และ ให้วัคซีนแก่ผู้สัมผัสโรคอย่างรวดเร็ว (ภายใน 72 ชม.) ใส่ใจดูแล: ให้การดูแลรักษาอย่างรวดเร็วและเหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดอัตราป่วยอัตราตาย อย่าเชือนแชสื่อสาร: ให้ข้อมูลและข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับ วัคซีน ประโยชน์ของการได้รับวัคซีน และอาการที่อาจเกิด ภายหลังได้รับวัคซีน

27 Thank you


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google