ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
โครงการขุดลอกนอกฝั่งเพื่อส่งทรายถมปรับลดการกัดเซาะ ชายหาดสมิหลา ริมถนนชลาทัศน์ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ศูนย์พัฒนาและบำรุงรักษาทางน้ำที่ ๔ กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม
3
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลา บริเวณที่มี การกัดเซาะระดับรุนแรงเพิ่มความกว้างหน้าหาด ที่ถูกกัดเซาะ ให้มีระยะความกว้างเพิ่มขึ้น ทำให้ความสวยงามของชายหาดส มิหลากลับคืนมา เป้าหมายของโครงการ เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลาระดับรุนแรง ความยาวตามแนวชายหาดประมาณระยะทาง ๔๕๐ เมตร โดยใช้เรือขุดลอก เรือเจ้าท่า ข.๓๗ เป็นเครื่องจักร ปฏิบัติงาน ทำการขุดลอกทรายในทะเลนอกชายฝั่ง ห่างจาก ชายฝั่งประมาณ ๒๐๐ เมตร ทำการส่งทรายทางท่อมาถม ปรับชายหาดและใช้รถขุดแขนยาวปรับแต่งชายหาดให้ได้ความ กว้างของชายหาดเฉลี่ยประมาณ ๘๐ เมตร โดยยึดความสูง ของหาดที่ถมปรับใหม่เท่ากับชายหาดเดิมและปรับ Slope ลาด เอียงจดทะเล สถานที่ปฏิบัติงาน ชายหาดสมิหลาบริเวณเหนือเกาะกัดกันเซาะ ชายฝั่งถึงหน้าสโมสรนายทหาร ชั้น ประทวน ริมถนนชลาทัศน์ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
4
ประโยชน์ที่จะได้รับ - ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหาดสมิหลา ระดับความ รุนแรงระยะทาง ๔๕๐ เมตร ได้รับการป้องกันและแก้ไข ให้กลับมามีความสวยงามความกว้างหน้าหาดเพิ่มขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัดสงขลา กลับมามี สภาพดังเดิม ประชาชนสามารถกลับมาใช้ประโยชน์ใน ด้านการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ ธุรกิจการค้าขนาดย่อม ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากต่อเนื่อง จากนักท่องเที่ยว - สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดสงขลา หมุนเวียนเพิ่มขึ้น มีผลทางอ้อมจากการที่มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น มีการจับจ่าย ใช้สอย สร้างรายได้หมุนเวียน - สภาพธรรมชาติที่ถูกทำลาย กลับคืนสู่สภาพใกล้เคียง กับสภาพเดิมในอดีต
5
สรุปผลการปฏิบัติงานขุดลอกเพื่อนำทรายถมปรับชายฝั่ง ลดการกัดเซาะบริเวณชายหาดสมิหลา(ริมถนนชลาทัศน์)
๑. งบประมาณทั้งหมด 8, (งบกรมเจ้าท่า ๖,๙๗๓,๙๘๐.๙๔ บาท +เงินเทศบาล๑,๔๓๓,๖๑๑.๙๖ บาท) 2. เนื้อดินรวม ๖๐๓,๗๘๖ ลูกบาศก์เมตร 3.ถมปรับพื้นที่ความกว้างหน้าหาดเฉลี่ย ๔๐ เมตร ไปประจบหาดเดิมที่ กม.๐+๔๕๐ ความสูงสันหาดเท่าระดับหาดเดิมและปรับ SLOPE ลงจดผิวน้ำ 4. ระยะเวลาดำเนินการ ๑๓๐ วัน (ตั้งแต่วันที่ ๙ พฤษภาคม – ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕)
6
สภาพชายหาดเดิมก่อนทำการถมปรับ ๑๗ พฤษภาคม ๕๕
สภาพชายหาดเดิมก่อนทำการถมปรับ ๑๗ พฤษภาคม ๕๕
7
ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕
ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕
8
ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕
ความคืบหน้าการปฏิบัติงาน ณ วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๕ (ปิดหน่วยฯ)
9
ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556
10
ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556
11
ชายหาดสมิหลา วันที่ 23 ธันวาคม 2556
12
ผลการตรวจวัดสภาพชายหาดสมิหลา
เทศบาลนครสงขลา สำรวจเมื่อ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ คงเหลือพื้นที่ 57 เปอร์เซ็นต์ ถือ ว่าคุ้มค่าต่อการลงทุน และขอรับ การสนับสนุนเพิ่มเติม ตามตำแหน่ง ที่ตรวจสอบแล้วว่ามีการกัดเซาะ มากกว่าปกติ
13
ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556
14
ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556
15
ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556
ทรายละเอียดเป็นทรายธรรมชาติดั้งเดิมของชายหาดสมิหลา และเป็นทรายที่คงสภาพได้นาน
16
ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556
17
ภาพชายหาดสมิหลา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556
18
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
19
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
20
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
21
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม 2๕๕๖
22
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ที่คงเหลือในปัจจุบัน วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
23
ชายหาดสมิหลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.