ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChuanchen Temirak ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
10
จากรูป ถามถึง Foreign key ของใบจัดสินค้า หากใครเลือกตอบ ในวงกลมสีเขียว ได้คะแนน นอกนั้น หักคะแนน ส่วนเลขที่ใบ นั้น ถือเป็น Primary Key ของใบจัดสินค้านั่นเอง
18
การสร้างฐานข้อมูล My SQL ผ่าน phpMyAdmin อ.ฐาปนี เพ็งสุข
19
เข้ามาที่หน้า http://localhost/phpMyAdmin/
เข้ามาที่หน้า
20
การสร้างฐานข้อมูลและการลบฐานข้อมูล
คำสั่ง SQL CREATE DATABASE`test` ; DROP DATABASE `test` ;
21
การสร้างตาราง ในฐานข้อมูล
22
อธิบายในส่วนต่างๆ ได้ดังนี้
- ฟิลด์ สำหรับใส่ชื่อฟิลด์ - ชนิด สำหรับเลือกชนิดของข้อมูลที่ต้องการเก็บในฟิลด์นั้น- ความยาว/เซต สำหรับกำหนดขนาดของข้อมูล - แอตทริบิวต์ สำหรับเลือกลักษณะเฉพาะของข้อมูลที่จะเก็บ เช่น ตัวเลขแบบคิด เครื่องหมาย บวกหรือลบ เป็นต้น - ค่าว่าเปล่า (null) สำหรับเลือกว่า ฟิลด์นั้นสามารถใส่ค่าว่างได้หรือไม่ - ค่าปริยาย สำหรับกำหนดค่าเริ่มต้นของฟิลด์ (ค่า Default) - เพิ่มเติม สำหรับกำหนดค่าเพิ่มเติม เช่น กรณีที่ฟิลด์เก็บข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) จะสามารถเลือกให้มีการเพิ่มค่าอัตโนมัติ (auto_increment) ได้ เป็นต้น - ไพรมารี เลือกเมื่อต้องการกำหนดให้ฟิลด์นั้นๆ เป็นไพรมารีคีย์ (Primary Key) - เอกลักษณ์ เลือกเมื่อต้องการให้ฟิลด์นั้นเป็น Unique
23
คำอธิบายของชนิดข้อมูล VARCHAR
VARCHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร กำหนดค่าได้ตั้งแต่ เหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลสั้นๆ เช่น ชื่อ นามสกุล หรือหัวข้อต่างๆ เป็นต้น... ในส่วนฟิลด์ประเภทนี้ จะ สามารถเลือก "แอตทริบิวต์" เป็น BINARY ได้ โดยปกติแล้ว การจัดเรียงข้อมูลเวลาสืบค้น (query) สำหรับ VARCHAR จะเป็นแบบ case-sensitive (ตัวอักษรใหญ่ และเล็กมีความหมายแตกต่างกัน) แต่หากระบุ "แอตทริบิวต์" เป็น BINARY การสืบค้นจะไม่คำนึงตัวอักษรว่าจะเป็นตัวใหญ่ หรือตัวเล็ก
24
คำอธิบายของชนิดข้อมูล CHAR
CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่ สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ ก็จะเรียงข้อมูล แบบ case-sensitive (ตัวอักษรใหญ่ และเล็กมีความหมายแตกต่างกัน) เว้นแต่จะกำหนดแอตทริบิวต์เป็น BINARY ที่จะทำให้การเรียงข้อมูลเป็นแบบ non case-sensitive เช่นเดียวกับ VARCHAR การสืบค้นจะไม่คำนึงตัวอักษรว่าจะเป็นตัวใหญ่ หรือตัวเล็ก
25
คำอธิบายของชนิดข้อมูล TEXT
TINYTEXT : จะสามารถเก็บข้อมูล ได้ 256 ตัวอักษร ซึ่งมองเผินๆ ก็ไม่ต่างกับเก็บลงฟิลด์ประเภท CHAR หรือ VARCHAR(255) เลย แต่มันทำ FULL TEXT SEARCH ได้ TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่น เดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดย สูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
26
คำอธิบายของชนิดข้อมูล INT
TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้อยู่ในช่วง -128 ถึง 127 เท่านั้น SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ ถึง (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บ ข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ ไปจนถึง (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ ไปจนถึง ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) DOUBLE:สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต
27
DATE : DATETIME DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ ว่าจะระบุค่า
29
สร้างตารางนักเรียน student table
30
สร้างตารางนักเรียน subject table
31
คำสั่งการสร้าง Table CREATE TABLE `student` (
`student_id` INT NOT NULL , `student_name` VARCHAR( 30 ) NOT NULL , `student_sername` VARCHAR( 30 ) NOT NULL , `student_tell` VARCHAR( 10 ) NOT NULL , `student_Address` VARCHAR( 200 ) NOT NULL , PRIMARY KEY ( `student_id` ) ) ENGINE = INNODB;
32
SELECT * FROM `student` WHERE `name` = 'สรวิช สุบุญ‘;
SELECT * FROM `student` WHERE `student_id` = '57001'; SELECT * FROM `student` WHERE `name` = 'สรวิช สุบุญ‘;
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.