งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

2 การดูแลด้านผู้ป่วย (PCR) 18 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 1 การดูแลด้านผู้ป่วย (PCR) 18 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 (ต่อ) 1.1 อัตราตายรวม(ผู้ป่วยใน) 1.2 อัตราตายทารกตายปริกำเนิด 1.3 อัตราการเกิดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด 1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า กรัมในหญิงที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต 1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก 1.7 อัตราการติดเชื้อ VAP 1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI 1.9 อัตราการติดเชื้อ SSI 1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน 1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา 1.12 อัตราการเกิด ROP 1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยาSKภายใน 30 นาที 1.14 อัตราER Re-visitภายใน48 ชม.ด้วยอาการที่รุนแรง 1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time)ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที 1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective case ภายใน24 ชม. 1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ 1.18 อัตราการเกิด Seroma หลังผ่าตัดมะเร็ง เต้านม

3 1.1 อัตราตายผู้ป่วยในรวม
เกณฑ์ต่ำกว่า 5% เสียชีวิต 89 ราย IPD 3,904 ราย

4 5 อันดับการตายผู้ป่วยใน มกราคม 2555
1. Septic Shock ราย 2. Lobar pneumonia ราย 3. Cerebral infarction ราย 4. Acute subendocardial myocardial infarction ราย 5. Diarrhoea and gastroenteritis of presumed infectious origin ราย

5 (ต.กลางหมื่น อ.เมือง 1 รายAnencephalus)
1.2 อัตราตายปริกำเนิด เสียชีวิต 5 ราย เกิดมีชีพ 294 ราย Neonatal death 1 ราย DFIU 4 ราย (ต.กลางหมื่น อ.เมือง 1 รายAnencephalus) เกณฑ์< 9 : 1000 การเกิดมีชีพ

6 1.3 อัตราการเกิดภาวะการขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด
BA 9 ราย เกิดมีชีพ 294 ราย เกณฑ์ 30:1,000 การเกิดมีชีพ

7 1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500กรัมในหญิงที่ANC ในโรงพยาบาล
LBW 4 ราย ANC รพ.กส 53 ราย (ในCUP 3 ราย เขตเทศบาล 1 -อ.เมือง 2) เกณฑ์ต่ำกว่า <7%

8 1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต การเกิดมีชีพ ทั้งหมด 294 ราย
เกณฑ์< 18:100,000การเกิดมีชีพทั้งหมด

9 1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก
1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก เกณฑ์ต่ำกว่า < 0.13%

10 1.7 อัตราการติดเชื้อVAP เกณฑ์ < 10 : 1,000 วันใช้เครื่องช่วยหายใจ

11 อัตราการติดเชื้อ VAP รวม
เกณฑ์ <10% ต.ค. 54 (ครั้ง) พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม อายุรกรรมกึ่งวิกฤต 3 9 6 5 23 ICU อายุรกรรม 2 ICU ศัลยกรรม 1 4 7 ICU เด็ก รวม (ครั้ง) 12 10 41 อัตราการติดเชื้อ VAP รวม 5.81 9.86 8.26 14.53

12 1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI
ICU-Med เกณฑ์ < 5 : 1,000วันคาสายสวน

13 จำนวนติดเชื้อ SSI(02) 2 ครั้ง
1.9 อัตราการติดเชื้อ SSI(02) Sit Specific Infection (ติดเชื้อแผลผ่าตัด) จำนวนติดเชื้อ SSI(02) 2 ครั้ง ศญ.= 1 ศช.= 1 เกณฑ์ < 4.5 %

14 1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน
Re-Admitted 10 ราย Admitted เดือนที่แล้ว 4,070 ราย เกณฑ์ < 2.5 %

15 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน
ward จำนวน PCT-สูติกรรม 5 ราย - สูติ-นรีเวช 4 ราย - พิเศษสูติกรรม ชั้น 4 (1 ราย) PCT-ศัลยกรรม 3 ราย - ศัลยกรรมอุบัติเหตุ 2 ราย - ศัลยกรรมชาย 1 ราย PCT-อายุรกรรม 2 ราย - อายุรกรรมชาย 2 (2 ราย) รวม 10 ราย

16 1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา
เกณฑ์ 0 ราย

17 1.12 อัตราการเกิด ROP เกณฑ์ 0% ตึกเด็กอ่อน ROP จำนวน 0 ราย
- เด็กน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 จำนวน 11 ราย (1ราย) (5ราย) (2ราย) เกณฑ์ 0%

18 1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยา SK ภายใน 30 นาที
เกณฑ์ >40%

19 1.14 อัตรา Re-Visit ที่ ER ภายใน 48 ชม.
เกณฑ์ 0%

20 1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time) ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที
เกณฑ์ >80%

21 1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective Caseภายใน24ชม.
เกณฑ์ 0%

22 1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ เกณฑ์ 0%

23 ศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย
อัตราการผ่าตัดซ้ำ PCT จำนวน PCT-สูติกรรม 1 ราย พิเศษสูติกรรม ชั้น 4 PCT-ศัลยกรรม 1 ราย ศัลยกรรมหญิง PCT-กระดูกและข้อ 1 ราย ศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย รวม 3 ราย จำนวนผ่าตัดทั้งหมด 1,287 ราย

24 1.18 อัตราการเกิด seroma หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม
ผ่าตัด CA Breast ทั้งหมด 0 ราย เกณฑ์ 0%

25 การมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น
ด้านที่ 2 การมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น 2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก 2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน 2.3 ความพึงพอใจของชุมชน 2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน)

26 2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก
2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก เกณฑ์ >85%

27 2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน
2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน เกณฑ์ >85%

28 2.3 ความพึงพอใจของชุมชน เกณฑ์ >85%

29 2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน)
2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน) เกณฑ์ 100% NA

30 ด้านที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการเงิน
3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio) 3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 3.3 อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระ(Cash Ratio)

31 3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio)
เกณฑ์ ≥1% ณ ธ.ค.54 Quick Ratio 1.51

32 3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio)
เกณฑ์ ≥1.5% ณ ธ.ค.54 Current Ratio 1.72

33 3.3 อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระ ( Cash Ratio)
เกณฑ์ ≥0.8% ณ ธ.ค.54 Cash Ratio 1.23

34 ผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงาน
ด้านที่ 4 ผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงาน 4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research 4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน 4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่ 4.4 อัตราการ Turn Over Rate 4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน Part 4

35 4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research
เรื่อง เรื่อง เรื่อง เกณฑ์ >5 เรื่อง/ปี

36 4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน
เกณฑ์ >10 เรื่อง/ปี

37 4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่
เกณฑ์>85%

38 4.4 อัตราการ Turn Over Rate
เกณฑ์ <1%

39 4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน
เกณฑ์ <1%

40 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ
ด้านที่ 5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ ด้านที่ 5 (ต่อ) 5.9 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก 5.10 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยนอก(Prescribing error) จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยนอก(Dispensing error) 5.11 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยใน จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยใน (Prescribing error) จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยใน (Dispensing error) จำนวนครั้งความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา 5.12 อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ผู้ป่วยใน 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ค่า BOD น้ำเข้า - ค่า BOD น้ำออก - ความเป็นกรดด่าง - สารแขวนลอย (Suspended Solids;SS) - ตะกอนหนัก 5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ 5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI 5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ G H I ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA การแก้ไขเชิงระบบ 5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I 5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 5.6 อัตราการครองเตียง 5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ( เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง) 5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor)

41 5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ
เกณฑ์ >80%

42 5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI
เกณฑ์ 0 ครั้ง

43 5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ GHI ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ
เกณฑ์ 100%

44 5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I
เกณฑ์ 0%

45 5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
เกณฑ์ 100%

46 5.6 อัตราการครองเตียง เกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 80%

47 5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ (เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง)
เกณฑ์ 100%

48 5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor)
เกณฑ์ >70%

49 5.9 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก
เกณฑ์ <180%

50 5.10.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาผู้ป่วยนอก(Prescribing error)
จำนวนใบสั่งยาOPDทั้งหมด 13,044 ใบสั่งยา คลาดเคลื่อนการสั่งยา 360 ครั้ง เกณฑ์ <15 ครั้ง/1000ใบสั่งยา

51 5.10.2 ความคลาดเคลื่อนในจ่ายยาผู้ป่วยนอก(Dispensing error)
เกณฑ์ < 2 ครั้ง/1000 ใบสั่งยา จำนวนใบสั่งยาOPDทั้งหมด 13,044 ใบสั่งยา คลาดเคลื่อนการจ่ายยา 24ครั้ง

52 5.11.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาผู้ป่วยใน (Prescribing error)
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน 12,789 คลาดเคลื่อนการสั่งยา 349 ครั้ง เกณฑ์ < 35 ครั้ง/1000วันนอน

53 5.11.2 ความคลาดเคลื่อนในจ่ายยาผู้ป่วยใน(Dispensing error)
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน 12,789 คลาดเคลื่อนการจ่ายยาผิด 19 ครั้ง เกณฑ์ < 3 ครั้ง/1000 ใบสั่งยา

54 5.11.3 จำนวนครั้งความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน 12,789 คลาดเคลื่อนการบริหารยา 10 ครั้ง เกณฑ์ < 1 ครั้ง : 1000วันนอน

55 5.12 อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ผู้ป่วยใน
เกณฑ์ >80%

56 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ค่าความเป็นกรด ด่าง
เกณฑ์ PH.5-9

57 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - สารแขวนลอย (Suspended Solids ; SS)
เกณฑ์ <30mg/l หมายเหตุ : ข้อมูลส่งตรวจทุก 3 เดือน

58 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ตะกอนหนัก
เกณฑ์ < 0.5 หมายเหตุ : ข้อมูลส่งตรวจทุก 3 เดือน

59 ด้านธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม (LDR)
ด้านที่ 6 ด้านธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม (LDR) 6.1 การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน 6.2 พฤติกรรมที่มีจริยธรรม จำนวนรางวัลที่ได้รับจากองค์กรภายนอก 6.3 การปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 6.4 ประสิทธิภาพของการพัฒนาองค์กร Part 4

60 6.1 การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน
6.1 การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ผ่าน

61 6.2 จำนวนรางวัลที่ได้รับจากองค์กรภายนอก
เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง

62 6.3 การปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
เกณฑ์ >80%

63 6.4 ประสิทธิภาพของการพัฒนาองค์กร

64 ผลลัพธ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ (HPR)
ด้านที่ 7 ผลลัพธ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ (HPR) 7.1 อัตราการตรวจสุขภาพประจำปีของเจ้าหน้าที่ 7.2 อัตราผู้ป่วยเบาหวานมีระดับ Fasting blood sugarอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้(70-130%mg/dl) 7.3 จำนวนเจ้าหน้าที่ป่วยจากการสัมผัสเชื้อ ( TB) 7.4 อัตราทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (เมือง-ดอนจาน) 7.5 อัตรากลุ่มเสี่ยง 35 ปี ขึ้นไปทุกคนในเขตได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 7.6 อัตราการเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง (เมือง-ดอนจาน) 7.7 ร้อยละของชุมชนที่มีความสำเร็จในการจัดระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง

65 7.1 อัตราการตรวจสุขภาพประจำปีของเจ้าหน้าที่

66 7.2 อัตราผู้ป่วยเบาหวานมีระดับ Fasting blood sugarอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (70-130%mg/dl)
เกณฑ์ 60%

67 7.3 จำนวนเจ้าหน้าที่ป่วยจากการสัมผัสเชื้อ (TB)
เกณฑ์ 0 ราย

68 7.4 อัตราทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (เมือง-ดอนจาน)
7.4 อัตราทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน (เมือง-ดอนจาน) เกณฑ์ >30%

69 7.5 อัตรากลุ่มเสี่ยง 35 ปี ขึ้นไปทุกคนในเขตได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เกณฑ์ >80%

70 7.6 อัตราการเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง (เมือง-ดอนจาน)
7.6 อัตราการเยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง (เมือง-ดอนจาน) เกณฑ์ >80%

71 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 1 ชุมชน 2 ชุมชน 3 ชุมชน
7.7 ร้อยละของชุมชนที่มีความสำเร็จในการจัดระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง (เกณฑ์ เพิ่มขึ้น1ชุมชน/ปี/สถานบริการ) ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 1 ชุมชน 2 ชุมชน 3 ชุมชน

72 กลุ่มภารกิจพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ
ขอบคุณค่ะ กลุ่มภารกิจพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ งานพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google