งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Geol Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Geol Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Geol. 205486 Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 เชื้อเพลิงธรรมชาติ มีอะไรบ้าง
พีต (peat) ลิกไนต์ (lignite) ถ่านหิน (coal) หินน้ำมัน (Oil Shale) ปิโตรเลียม (Petroleum) น้ำมัน (mineral oil) ก๊าซธรรมชาติ (natural gas)

3 พีท ลิกไนต์ และถ่านหิน บางครั้งเรียกรวมกันว่า Humoliths เนื่องจากต้นกำเนิดเป็นเศษซากของพืชทั้งหมดสะสมตัวกันอยู่ แต่บางชนิดของถ่านหินก็มีกำเนิดคล้ายน้ำมัน คือ มีการตกจมของตะกอนอินทรีย์ตกจมในน้ำ เรียกว่า Sapropelites ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงระหว่างถ่านหินกับน้ำมันหรือปิโตรเลียม

4 การใช้พลังงานในอดีต

5 ปริมาณสำรองเชื้อเพลิงธรรมชาติของโลก

6 น้ำมัน

7

8 แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ใน แอ่งเทอร์เชียรี
แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ใน แอ่งเทอร์เชียรี

9

10 แหล่งปิโตรเลียม ในประเทศไทย

11 ปิโตรเลียมของไทย

12

13 ลักษณะแหล่งกักเก็บน้ำมัน

14

15 หินต้นกำเนิดน้ำมันในประเทศไทย

16 เศษสารอินทรีย์ที่สลายตัวจากพืชที่พบในหินต้นกำเนิดบนบก

17 เศษสารอินทรีย์ที่สลายตัวจากพืชที่พบในหินต้นกำเนิดจากอ่าวไทย

18 สปอร์

19 เรซิน ละอองเกสร

20 เปลือก

21 ชนิดของถ่านหิน แบ่งตามลำดับขั้นการกลายเป็นถ่านหิน ของ ASTM(ไม่นับพีต)
ลิกไนต์ 1.ลิกไนต์ A 2.ลิกไนต์ B ซับบิทูมินัส 1. ซับบิทูมินัส A 2.ซับบิทูมินัสB 3. ซับบิทูมินัส C บิทูมินัส บิทูมินัสที่มีสารระเหยสูงABC -บิทูมินัสที่มีสารระเหยปานกลาง -บิทูมินัสที่มีสารระเหยต่ำ แอนทราไซต์ เซมิแอนทราไซต์ -แอนทราไซต์ -เมต้าแอนทราไซต์

22 ส่วนประกอบสำคัญในถ่านหินชนิดต่างๆ

23 วิวัฒนาการทางธรณีวิทยาด้วยกระบวนการที่เรียกว่า กระบวนการเกิดภูเขาหรือขบวนการคดโค้งโก่งงอ (orogenesis) Joly (1925) และ Sonder (1922) ได้แบ่งธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกไว้เป็นช่วงเวลา ดังนี้ 1. ช่วงเวลาที่เป็นแผ่นดินยาวนาน 2. ช่วงเวลาที่ถูกน้ำท่วม โดย oceanic transgression 3. ช่วงเวลาที่แผ่นดินปริ่มน้ำ 4. ช่วงเวลาที่แผ่นดินยกตัวพ้นน้ำและการเกิดเทือกเขา

24 Carboniferous World Map Showing Coal Deposits

25 การประเมินในปี 1980 นี้ พบว่า ปริมาณเป็นถ่านหินถึง 6,160 Mtce และระดับซับบิทูมินัส-ลิกไนต์ อีก 3840 Mtce สหภาพโซเวียตสูงขึ้นเป็น 4,432 x 109 tce. สหรัฐอเมริกา 2,519 x 109 tce. จีน 1,339 x 109 tce. ที่รองลงมาเป็นออสเตรเลีย คานาดา เยอรมันตะวันออก และสหราชอาณาจักร และพบว่าบอสวานามาเป็นอันดับแปด มีถึง 100 x 109 tce. เป็นถ่านหินชั้นบิทูมินัส บราซิลมาเป็นอันดับที่ 12 มีถึง 10 x 109 tce. เป็นลิกไนต์ เวเนซูเอลามีถ่านหิน 4.7 x 109 tce. เชกโกสโลวาเกีย เป็นถ่านหิน 5.5 x 109 tce. อินโดนีเซีย เป็นลิกไนต์ 6.3 x 109 tce. และซิมบับเวเป็นถ่านหิน 5.8 x 109 tce. สำหรับประเทศไทยนั้น มีเพียง 2.2 x 109 tce.

26 สหรัฐอเมริกา ส่งออก 85 ล้านตัน จาก (710 ล้านตัน). โปแลนด์ 40 ล้านตัน
สหรัฐอเมริกา ส่งออก ล้านตัน จาก (710 ล้านตัน) โปแลนด์ ล้านตัน ออสเตรีย ล้านตัน สหภาพโซเวียต ล้านตัน สหภาพอาฟริกาใต้ ล้านตัน เยอรมันตะวันออก ล้านตัน คานาดา ล้านตัน สหภาพราชอาณาจักร ล้านตัน รายอื่น ได้แก่ เชคโกสโลวาเกีย จีน โคลัมเบีย และบอสวานา สำหรับผู้ซื้อนั้น ที่มากกว่าเก้าแสนตันต่อปีมีถึง 26 ประเทศ ที่ซื้อมากที่สุดได้แก่ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อิตาลี เบลเยียม และลักแซมเบอร์ก เนเธอแลนด์ และเดนมาร์ค

27 ในการนำถ่านหินขึ้นมาใช้นั้น แปดประเทศที่มีอัตราการผลิตสูงสุดนั้น เป็นประเทศที่มีปริมาณสำรองสูงสุดทั้งนั้น ในกรณีของลิกไนต์ เยอรมันตะวันตกเป็นประเทศที่นำขึ้นมาใช้สูงสุด ปีละ 250 ล้านตัน 80 เปอร์เซ็นต์ของถ่านหินลิกไนต์ที่ขุดขึ้นมานี้ใช้ในโรงไฟฟ้า และเยอรมันตะวันออกขุดลิกไนต์ขึ้นมาใช้ปีละ 130 ล้านตัน ยูโกสลาเวีย 40 ล้านตันต่อปี ในบรรดาผู้ที่ส่งถ่านหินเป็นสินค้าออกในปริมาณมากกว่าล้านตันในปี 1980

28 แหล่งถ่านหินประเทศไทย

29 การผลิตถ่านหินในประเทศไทย -แหล่งแม่เมาะ - แหล่งแม่ทาน -แหล่งบ้านปู -แหล่งบ้านป่าคา -แหล่งแม่ละเมา -แหล่งเชียงม่วน

30 การผลิตถ่านหินของไทยเมื่อปี 2542

31 ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ J-Zone

32 ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ K-Zone

33 ชั้นถ่านหินเหมืองแม่เมาะ Q-Zone

34 บ้านโฮ่ง ลี้

35 ป่าคา

36 บ้านปู

37 นาทราย

38 แม่ลาย

39 แม่ตีบ

40 ถ่านหินภาคไต้ บางปูดำ หวายเล็ก

41 นาด้วง เหมืองถ่านหินแอนทราไซต์

42 หินน้ำมัน แม่สอด นาฮ่อง ห้วยเดื่อ ป่าคา แม่ตีบ เวียงแหง


ดาวน์โหลด ppt Geol Coal Geology รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google