งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Complementary feeding and Natural Foods

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Complementary feeding and Natural Foods"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Complementary feeding and Natural Foods
กุสุมา ชูศิลป์ หน่วยโภชนาการเด็ก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 วัตถุประสงค์ เสนอแนวปฏิบัติการให้อาหารทารกขององค์การอนามัยโลก
อธิบายเหตุผลการให้อาหารเสริมเมื่อ อายุ6เดือน อธิบายวิธีกำหนดชนิดอาหารเสริมที่เหมาะสม อธิบายความสำคัญสารอาหารในอาหารเสริม อธิบายวิธีจัดอาหารเสริมให้เพียงพอกับความต้องการของทารกที่ไดรับนมแม่ เลือกอาหารธรรมชาติในการเลี้ยงเด็กอายุ 6-24 เดือน

3 Goals of infant feeding
Normal growth Normal development Good eating habit Disease prevention

4 Definition: Complementary foods Any nutrient - containing foods or liquids other than breast milk given to young children during the period of complementary feeding Definition: Complementary feeding period The period during which other foods or liquids are provided along with breast milk

5 ESPGHAN Committee on Nutrition
Medical Position Paper 2008 Complementary feeding: All solid and liquid foods other than breast milk or infant formula and follow-on formula J Pediatr Gastroenterol Nutr 2008.

6 ควรให้อาหารเสริมแก่ทารก เมื่อใด?
เมื่อทารกมีความพร้อม - ด้านกล้ามเนื้อและระบบประสาท - ด้านการทำงานของทางเดินอาหาร - ด้านการทำงานของไต - ด้านพัฒนาการของสมองในการรับ อาหาร

7 พัฒนาการของกล้ามและระบบประสาท
ตั้งแต่เกิดครบกำหนดทารกมีความสัมพันธ์ระหว่างการดูดและการกลืน เมื่อเริ่มดูดนมทารกตอบสนองต่อการเขี่ยแก้มหรือริมฝีปาก(rooting reflex) ทารกลดการใช้ลิ้นดุน (extrusion reflex) ขณะรับอาหารเมื่ออายุ4 เดือน ทารกควบดุมการปิดปากขณะรับอาหารเมื่ออายุ4 เดือน เมื่ออายุ5-7เดือนทารกเริ่มนั่งและเคี้ยวอาหาร เมื่ออายุ 9-10 เดือนทารกเริ่มหยิบอาหารเข้าปาก หลังอายุ12 เดือนเริ่มมีพฤติกรรมสำรวจและอยากรู้อยากเห็น

8 สรีรวิทยาของทางเดินอาหาร
อาหารช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนในทางเดินอาหาร การเจริญเติบโตของเยื่อบุทางเดินอาหารช่วยสร้างน้ำย่อยที่ย่อยคาร์โบไฮเดรต การเคลื่อนอาหารออกจากกระเพาะเข้าสู่ลำไส้ขึ้นกับอายุครรภ์ขณะเกิด เกลือน้ำดีจากตับและน้ำย่อยจากตับอ่อนที่ช่วยย่อยโปรตีนและไขมัน สารอาหารบางตัวถูกย่อยและดูดซึมในกระเพาะ มีการควบคุมการดูดซึมวิตามินและเกลือแร่ในลำไส้ มีการสร้างภูมิต้านในลำไส้และทั่วร่างกาย

9 การขับของเสียทางไต ของทารกแรกเกิด
อัตราการกรองของเสียต่ำ ขับกรดออกจากร่างกายได้น้อย ทำงานหนักเมื่อมีสารยูเรียหรือสารเกลือแร่ มากเกินไป

10 การย่อยน้ำตาล Oligosaccharides เกิดจากการย่อยแป้งหรือการสลาย glycogen และจะถูกย่อยต่อโดย alpha-glucosidase เช่น sucrase-isomaltase Lactose ถูกย่อยโดย lactase ซึ่งเป็น beta-glucosidase ได้ monosaccharides glucose และ galactose

11 การย่อยน้ำตาล Lactase จะทำงานด้วยอัตราจำกัดเพื่อให้เซลล์ลำไส้ดูดซึม glucose และ galactose อย่างช้าๆด้วยส่วนโปรตีน Na+ glucose cotransporter จนมีคามเข้มข้นสูงพอที่จะซึมผ่านผนังของเซลล์ลำไส้สู่กระแสเลือด การดูดซึมคาร์โบไฮเดรตขึ้นกับฮอร์โมนในทางเดินอาหาร

12 การย่อยไขมัน ไขมันหลักTriglycerides ประมาณ10-30%
เริ่มถูกย่อยโดยGastric lipaseในกระเพาะที่มีความเป็นกรดที่พอเหมาะ Monoglycerides และกรดไขมันถูกเคล้าด้วยน้ำดีในลำไส้ก่อนถูกย่อยโดย colipase dependent-lipaseจากตับอ่อน Colipase dependent-lipase มีน้อยมากในทารกและหลั่งสร้างเป็น1000เท่าในผู้ใหญ่

13 การดูดซึมไขมัน การดูดซึมกรดไขมันไม่อิ่มตัวดีกว่ากรดไขมันอิ่มตัว
กรดไขมันไม่อิ่มตัวถูกสลายดีในกระเพาะ ชอบละลายกับเกลือน้ำดี จับกับโปรตีน และ reesterifiedได้จึงไม่ค่อยเปลี่ยนสบู่ การดูดซึมกรดไขมันอิ่มตัวขึ้นกับตำแหน่งของกรดไขมันในโมเลกุลtriglycerol

14 การดูดซึมไขมัน กรดในนมแม่มี palmitic acidที่ตำแหน่ง sn-2 ของโมเลกุลtriglycerolจำนวนมาก แต่นมผสมมีน้อยมาก กรดไขมันอิ่มตัวในนมแม่จึงถูกดูดซึมดีกว่า Medium chain triglyceridesมีกรดไขมันอิ่มตัว8-10 carbon atom ละลายดีในน้ำถูกย่อยดีในกระเพาะด้วยlipase แม้จะมี เกลือน้ำดี และน้ำย่อยจากตับอ่อนน้อย จึงถูกดูดซึมดีกว่าlong chain triglycerides

15 พฤติกรรมการให้อาหาร ทารกหลังอายุ 6 เดือน
หัดให้กินอาหารจากช้อน เริ่มควบคุมกล้ามเนื้อริมฝีปาก การเคลื่อนของลิ้น และกระดูกขากรรไกร หันศีรษะไปมาขณะอ้าปากรับช้อนได้ เริ่มตั้งใจดูดน้ำและอาหารด้วยตนเอง นั่งกินอาหารได้ อายุ เดือน เริ่มใช้นิ้วชี้และหัวแม่มือจับชิ้นอาหารเข้าปาก เช่นผักชิ้นเล็กๆ ที่ทำให้สุกและอ่อนนิ่ม หัดเคี้ยวเพื่อกระตุ้นการขึ้นของฟัน ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น คุ้นเคยกับอาหารในครอบครัว

16 พัฒนาการและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกิน
อายุ (เดือน) พัฒนาการและพฤติกรรม แรกเกิด ถึง 2 Primitive reflexes (rooting, sucking, swallowing) 2-4 เริ่มสนใจและมีปฏิสัมพันธ์ในระหว่างกินมากขึ้น สามารถ ไอเพื่อป้องกันการสำลัก รอคอยเมื่อหิว ชอบเอามือเข้าปาก 4-6 มีความพร้อมในการกินอาหารแข็ง สามารถคุมการทรงตัวของศีรษะและลำตัวได้ดี คว้าของได้ เริ่มเอาของเข้าปาก extrusion reflex of tongue ลดลง สามารถคายอาหารทิ้ง เพื่อเป็นการสำรวจอาหารในปาก การตอบสนองต่อการกินอาหารแข็งขึ้นกับพื้นอารมณ์ของเด็ก 6-8 นั่งได้ดี เริ่มเคี้ยวได้ ถือขวดนมได้เอง ส่งเสียงในระหว่าง มื้ออาหารเพื่อแสดงความต้องการอาหาร 8-10 เริ่มใช้นิ้วมือได้ดีขึ้น เริ่มกำช้อนได้แต่ยังไม่สามารถใช้ได้ดี หยิบอาหารชิ้นเข้าปากกินเองได้ เริ่มชอบกินอาหารที่มีรสชาติ และลักษณะอาหารใหม่ๆ 10-12 ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วโป้งได้ดี เริ่มเรียนรู้ในการทิ้งของ และอาหารลงพื้นเพื่อสังเกตว่าอาหารมีการเคลื่อนที่อย่างไร เริ่มถือถ้วยได้แต่ไม่ดี ส่งเสียงและขยับตัวระหว่างมื้ออาหารได้มากขึ้น 12-15 ต้องการกินอาหารด้วยตนเอง ความอยากอาหารและ ความต้องการสารอาหารลดลง เริ่มถือถ้วยได้ดีขึ้น (ใช้สองมือประคองถ้วย) ชอบเล่นอาหารอาจทำอาหารเลอะเทอะ 15-18 เริ่มกินได้เร็วขึ้น ชอบเคลื่อนไหวหรือเดิน ทำให้ไม่อยากกิน อาหารเพราะกำลังหัดเดิน รอคอยอาหารได้ เล่นโดยการทิ้งอาหารลงพื้นเพื่อดูการตอบสนองของพ่อแม่ 18-24 เริ่มกินอาหารเองโดยการใช้ช้อนร่วมกับการใช้นิ้วมือ เริ่มขออาหารเองได้ เริ่มมีการต่อต้าน (negativism) อาจบอกว่าไม่กินแม้ว่าจะหิวก็ตาม ต้องการควบคุมการกินและมื้ออาหารด้วยตนเอง

17 พัฒนาการและพฤติกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการกิน
อายุ (ปี) พัฒนาการและพฤติกรรม 2-3 เริ่มใช้ส้อมได้ เริ่มกินอาหารเป็นเวลา ชอบช่วยเตรียมและ เก็บโต๊ะอาหาร 3-4 ใช้ช้อนและส้อมได้ดี ล้างมือเองได้ ชอบช่วยเตรียมอาหาร 4-5 อาจปฏิเสธการกินอาหารบางชนิด เริ่มขอกินอาหาร ที่อยู่ในโฆษณา (โดยเฉพาะขนมจุบจิบ ขนมถุง) เริ่มบอกว่า อยากกินอะไรในมื้ออาหาร ชอบช่วยล้างจาน ช่วยเตรียมอาหาร 5-6 เริ่มช่วยเตรียมอาหารกล่อง สามารถรับผิดชอบในการจัด และเก็บโต๊ะ ช่วยน้องขออาหารได้ 6-8 ล้างจานเองได้ ต้องการซื้อขนมจุบจิบ ขนมถุงมากขึ้น สนใจและเริ่มต่อรองขออาหารชนิดต่างๆได้ สามารถซื้ออาหารด้วยตนเองในโรงเรียน 8-10 สนุกกับการวางแผนและเตรียมเมนูอาหารของคนใน ครอบครัว สามารถใช้เงินซื้ออาหารกินเองเมื่ออยู่นอกบ้าน เริ่มไม่ชอบช่วยงานครัว

18 อายุที่เริ่มให้อาหารเสริม
ข้อกำหนดการให้อาหารเสริมขององค์การอนามัยโลก ค.ศ ให้อาหารเสริมหลัง ได้นมแม่อย่างเดียว 4-6 เดือน ค.ศ ให้เริ่มอาหารเสริมครั้งแรก เมื่ออายุ 6 เดือนขึ้นไป

19 อายุที่เริ่มให้อาหารเสริม ที่กำหนดโดยองค์กรอื่น
WHO 2001: 6 เดือน กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย: 6 เดือน ชมรมโภชนาการเด็กแห่งประเทศไทย 2550: 4-6 เดือน AAP 2008: 4-6 เดือน ESPGHAN 2008: 17 – 26 สัปดาห์

20 ข้อแนะนำการบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี (FBDG) ของทารก
1.ให้นมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน และให้ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี* 2. เริ่มอาหารเสริมตามวัยเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน ถ้าจำเป็น** อาจเริ่มให้ก่อนได้ แต่ไม่ก่อนอายุครบ 4 เดือน 3. ให้อาหารเสริมตามวัยปริมาณพอเพียง 1 มื้อ เมื่ออายุ 6 เดือน เพิ่มเป็น 2 และ 3 มื้อ เมื่ออายุประมาณ 8 และ 10 เดือนตามลำดับ 4. ให้อาหารเสริมตามวัยที่มีคุณภาพ ครบทุกหมู่ เป็นประจำทุกวัน *** 5. ค่อย ๆ เพิ่มปริมาณ และความละเอียดหยาบของอาหาร ตามวัยทารก 6. ให้อาหารรสธรรมชาติ ไม่ควรปรุงแต่งรสอาหาร 7. ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย 8. ให้ดื่มน้ำสะอาด งดเครื่องดื่มรสหวานและน้ำอัดลม 9. ฝึกทารกให้มีวิธีกินอย่างเหมาะสมตามวัย 10. เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ * ถ้ามีความจำเป็นที่ไม่สามารถให้นมแม่ได้ ให้ใช้นมผงดัดแปลงสำหรับทารก ** การเจริญเติบโตมีแนวโน้มลดลง (น้ำหนักเพิ่มน้อย หรือไม่เพิ่ม) หรือไม่สามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มที่ *** แนะนำให้ใช้อาหารที่เตรียมเอง **** อาจเลือกใช้นมสูตรต่อเนื่องหรือนมวัวรสจืดในเด็กอายุ 1-2 ปี

21 ข้อสรุปแนวทาง การให้อาหารเสริม ระดับโลก
Daelmans B,Martines J, and Saadeh R. Food and Nutrition Bulletin, vol. 24,no.1:2003 ;

22 หลักการปฏิบัติเกี่ยวกับ การให้อาหารเสริม
ควรเริ่ม น้ำ เครื่องดื่ม หรืออาหารอื่นๆนอกเหนือจากนมแม่เมื่อทารกอายุ6เดือนเต็ม เพิ่มปริมาณอาหารตามอายุของเด็ก ยังคงให้นมแม่บ่อยครั้งขณะให้อาหารเสริม ความต้องการกำลังงานจากอาหารเสริมของทารกในประเทศที่กำลังพัฒนาสูงกว่าทารกในประเทศที่พัฒนาแล้วเพราะได้รับนมแม่แตกต่างกัน

23 กำลังงานสารอาหารที่ ต้องการเพิ่มในอาหารเสริม
คำนวณส่วนต่างในแต่ละกลุ่มอายุระหว่างความต้องการกำลังงานสารอาหารที่ต้องการหรือควรได้รับทั้งหมดต่อวันกับปริมาณกำลังงานสารอาหารในนมแม่ จัดแบ่งกลุ่มอายุเพื่อการคำนวณความต้องการสารอาหารเป็นช่วงอายุ 6 to 8 เดือน, 9 to 11 เดือน, และ 12 to 23 เดือน.

24 ปริมาณโปรตีน พลังงาน ที่ควรได้รับจากอาหารเสริมตามวัยสำหรับทารกตามกลุ่มอายุ

25 ส้ดส่วนกำลังงานที่ทารกได้รับจากนมแม่เทียบกับความต้องการกำลังงานทั้งหมด

26 Energy from breast milk Energy need from complementary food
สัดส่วนของกำลังงานที่ได้จากนมแม่และอาหารเสริมที่อายุ 4 เดือน และ6 เดือน Age (month) Energy requirement (kcal/d) Energy from breast milk Energy need from complementary food Breast milk intake low avg high 0-2 404 279 437 595 125 3-5 550 314 474 634 236 76 6-8 682 217 413 609 465 269 73 9-11 830 157 379 601 673 451 229 12-23 1,092 90 346 602 1,002 746 490

27 ปริมาณกำลังงานสารอาหาร ที่ควรได้ในอาหารเสริม
ปริมาณพลังงาน(กิโลแคลอรีต่อวัน) ช่วงอายุของทารก ควรได้รับ นมแม่ อาหารเสริม 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน

28 ความถี่ของมื้ออาหารเสริมและ ความหนาแน่นของ กำลังงานสารอาหารอาหาร
จำนวนครั้งที่เหมาะสมในการให้อาหารเสริมขึ้นกับชนิดของอาหารเสริมที่มีความหนาแน่นของกำลังงานสารอาหารต่างกัน ถ้าความหนาแน่นของกำลังงานสารอาหารน้อยหรือเด็กรับประทานอาหรต่อมื้อได้น้อย หรือ ได้รับนมแม่น้อย เด็กควรได้อาหารเสริมบ่อยครั้งขึ้น

29 จำนวนมื้ออาหารเสริม ที่มีกำลังงานสารอาหารน้อยที่สุด ในแต่ละกลุ่มอายุ
6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน 2 0.88 1.16 1.48 3 0.59 0377 0.98 4 0.44 0.58 0.74 5 0.35 0.46 WHO/UNICEF 1998

30 ระดับสารอาหารน้ำนมแม่
น้ำนมแม่เป็นแหล่งสารอาหารระดับดีได้แก่ โปรตีน วิตามินเอ โฟเลต วิตามินบี12 วิตามินซี ไอโอดีน และทองแดง น้ำนมแม่เป็นแหล่งสารอาหารระดับพอใช้ ได้แก่ วิตามินบี2 วิตามินบี1 แคลเซียม และสังกะสี น้ำนมแม่เป็นแหล่งสารอาหารระดับต่ำได้แก่ ไนอะซิน วิตามินบี6 วิตามินดี วิตามินเค และเหล็ก

31 ส่วนประกอบสารอาหาร ที่ให้กำลังงานในอาหารเสริม
อาหารเสริมส่วนมากมีโปรตีนที่เพียงพอหรือเกินพอกับความต้องการของทารก น้ำนมแม่มีไขมันมากกว่าในอาหารเสริม เฉลี่ย 38 กรัมต่อลิตร ในประเทศกำลังพัฒนา สัดส่วนของกำลังงานจากไขมันในอาหารเสริมของทารกแต่ละช่วงอายุแตกต่างกัน อายุ 6-8 เดือน ต้องการ 0-34 %, อายุ 9-11 เดือน ต้องการ 5-38 % อายุ12-23 เดือนต้องการ %

32 Pipop Jirapinyo , et al. J Med Assoc Thai ,2008;91: 1833-38
Fatty acid Composition in Breast milk from 4 Regions of Thailand กรดไขมันจากนมแม่จาก4ภูมิภาคของไทย Pipop Jirapinyo , et al. J Med Assoc Thai ,2008;91:

33 LCPUFAs ในนมของแม่ จาก4 จังหวัดในประเทศไทย
ชนิดไขมัน กรุงเทพ จันทบุรี ตาก สุรินทร์ Linoleic acid 17.229 (0.738) 16.537 (0.593) 15.359 (0.903) 13.143 (0.647) L inolenic acid 0.559 (0.065) 0.244 (0.031) 0.362 (0.045) 0.424 (0.086) Arachidonic acid 1.046 (0.064) 1.308 (0.227) 1.249 (0.027) 1.248 (0.037) Eicosapetainoic acid 0.077 (0.012) 0.096 (0.008) 0.144 (0.001) 0.279 (0.030) DHA 0397 (0.023) 0.526 0.533 (0.003) 0.783

34 ลักษณะกรดไขมันสายโมเลกุลยาว ในน้ำนมของแม่ไทย
หญิงให้นมบุตรในจังหวัดสุรินทร์บริโภคDHAเฉลี่ย 10.44(0.82)มกต่อสัปดาห์ซึ่งสูงที่สุด รองลงมาเป็นหญิงให้นมบุตรในกรุงเทพ8.12(0.94) มกต่อสัปดาห์ หญิงให้นมบุตรในจังหวัดจันทบุรีบริโภคDHA 5.97(0.62) มกต่อสัปดาห์และในจังหวัดตากบริโภคDHA 1.42(0.20)ซึ่งค่อนข้างต่ำมาก แหล่งของกรดไขมันได้แก่น้ำมันพืชที่ใช้ทำอาหารเช่นน้ำมันถั่วเหลืองที่มีLAและALAสูงทำให้แม่ในกรุงเทพที่สามารถบริโภคน้ำมันถั่วเหลืองมี LAและALA ในนมแม่สูงที่สุด หญิงให้นมบุตรในจังหวัดสุรินทร์ที่บริโภค DHAมากที่สุดได้ DHAจากปลาและทำให้นมแม่มี DHAมากที่สุด แต่หญิงให้นมบุตรในกรุงเทพมี DHAน้อยที่สุด

35 What are good complementary foods?
Rich in energy, protein & micronutrients Clean and safe Locally available and easy to prepare Not too sweet, salty or peppery Liked by the child

36 อัตราการสะสมแคลเซียมในร่างกายของเด็ก
Balance study Accretion Bone densitometry Calcium accretion (mg/d) Age group Abrams,1991&1994&1997.Begum,1969.Ellis,1997.Fomon,1993.Garn,1972.Koo,1997. Leitch,1959.Martin,1997.Matkovic,1991&1992.Weaver,1994.Widdowson,1951.

37 ชนิดของอาหารที่ควร ให้ในอาหารเสริม
ควรให้อาหารเสริมที่หลากหลายชนิดเพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนตามความต้องการ อาหารที่ควรได้ทุกวันหรือบ่อยครั้งได้แก่ เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก ปลา หรือไข่ อาหารมังสวิรัติไม่สามารถครอบคลุมสารอาหารที่เด็กวัยนี้ต้องการ ควรให้ผักและผลไม้ที่อุดมด้วยวิตามินเอทุกวัน ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีสารอาหารน้อย เข่น น้ำหวาน.

38 ความหนาแน่นสารอาหาร(ต่อ100กิโลแคลอรี)ในอาหารของเด็กอายุ6-8เดือน
Nutrients New RDI WHO 2002(1998) Protein (g) 1.0 (0.7) Vitamin A(micro g) 81.0 (5.0) Calcium (mg) 40.0 (125.0) Iron (mg) 5.3 (4.0) Zinc (mg) 1.1 (0.8) Niacin (mg) 1.5 (1.1) Folate(micro g) 11.0 (0.0)

39 ความหนาแน่นสารอาหาร(ต่อ100กิโลแคลอรี)ในอาหารเด็กอายุ 9-11 เดือน
Nutrients New RDI WHO (1998) Protein (g) 1.0 (0.7) Vitamin (micro g) 63.0 (9.0) Calcium (mg) 32.0 74.0 (78.0) Iron (mg) 3.5 (2.5) Zinc (mg) 0.7 (0.5) Niacin (mg) (0.9) Folate (micro g) 9.0 (0.0)

40 ความหนาแน่นสารอาหาร(ต่อ100กิโลแคลอรี) ในอาหารเด็กอายุ 12-23 เดือน
Nutrients New RDI WHO 2002(1998) Protein (g) 0.9 (0.7) Vitamin A (micro g) 5.0 (17.0) Calcium (mg) 63.0 (26.0) Iron (mg) 1.2 (0.8) Zinc (mg) 0.4 (0.3) Niacin (mg) (0.9) Folate(micro g) 19.0 (0.0)

41 การให้อาหารเสริม ที่ต้องระวังการขาดสารอาหาร
ทารกและเด็กที่เข้าถึงอาหารเสริมบางชนิดในปริมาณมาก เช่น อาหารประเภทแป้งและน้ำตาล และได้รับอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์เนื้อนมไข่ค่อนข้างน้อยมีความเสี่ยงต่อการขาดสารอาหารโดยเฉพาะเกลือแร่และวิตามิน อาหารเสริมที่ไม่ใช่เนื้อสัตว์มีสารอาหารน้อยเช่นเหล็ก แคลเซียม สังกะสี ซีลีเนียม กลุ่มวิตามินบี หรือวิตามินเอในบางโอกาส อาหารเสริมที่มีความหนาแน่นของสารอาหาร(ปริมาณสารอาหารต่อ100 กิโลแคลอรี)น้อยกว่าปริมาณสารอาหารที่เด็กต้องการจริงถือว่าเป็นอาหารเสริมที่มีสารอาหารที่เป็นปัญหา

42 สารอาหารที่เป็นปัญหา (Problem nutrients )ในอาหารเสริม
กลุ่มวิตามินที่ลดลงในน้ำนมแม่อย่างรวดเร็วถ้าแม่ได้รับไม่เพียงพอ เช่น วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี6 วิตามินบี 12 และวิตามินเอ กลุ่มวิตามินที่มีน้อยในน้ำนมแม่ตามปริมาณที่สะสมไว้ในร่างกายของแม่ เช่น โฟเลท และวิตามินดี แร่ธาตุที่อาจต้องเพิ่มในอาหารเสริมเช่น เหล็ก สังกะสี แคลเซียม ซีลีเนียม และไอโอดิน

43 ปริมาณ vitamin A (ไมโครกรัมต่อวัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF 1998 350 400 New DRI 500 300 WHO 2002

44 แหล่งอาหารที่สำคัญของ วิตามินเอ Retinol และBeta-Carotene
นมแม่เป็นแหล่งอาหารที่ดีที่สุดของวิตามินเอในช่วง 6เดือนแรกหลังเกิด แต่ปริมาณในนมแม่ขึ้นภาวะวิตามินเอในตัวของแม่ สารที่ช่วยเพิ่ม bioavailability ของวิตามินเอได้แก่ ไขมัน โปรตีน วิตามินอี สังกะสี หรือเหล็ก

45 ปริมาณ Retinol (microgram RE 1=3.33IU) ในอาหารที่ได้จากสัตว์
แหล่งวิตามินเอ ปริมาณ Retinol ตับ 3 ออนซ์ 9124 ปลาSalmon 53 ปลาTuna 14 ไข่ไก่ 1 ฟองขนาดกลาง 84 นมเสริมวิตามินเอ 1 ถ้วย 149 นมสดไขมัน2% 139

46 ปริมาณ Retinol (microgram RE 1=3.33IU) ในอาหารที่ได้จากพืช
แหล่งเบต้าคาโรตัน ปริมาณ Retinol ฟักทอง 1/2 ถ้วย 2712 แครอท 1913 มันหวาน 1935 แคนตาลูบ 480 แตงโม 59 มะละกอ 20

47 ปริมาณ Vitamin K (ไมโครกรัมต่อวัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 10 New DRI 2.5 30 WHO 2002 15

48 แหล่งอาหารของวิตามินเค
นมแม่มีวิตามินเคประมาณ 23 ไมโครกรัมต่อลิตร ทารกที่ได้รับนมแม่อย่างเดียวร้อยละ55มีความเสี่ยงต่อการขาดวิตามินเค ทารกแรกเกิดทุกคนควรได้รับการฉีดหรือรับประทานวิตามินเค0.5-1 มิลลิกรัม ผักสีเขียวและอาหารประเภทถั่วเป็นแหล่งตั้งต้นให้แบคทีเรียสังเคราะห์วิตามินเคในลำไส้

49 ปริมาณ Folate (ไมโครกรัมต่อวัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 32 50 New DRI 80 150 WHO 2002 160

50 แหล่งอาหาร Folate(microgram) ในนมแม่ 80-140 ไมโครกรัมต่อลิตร
แหล่งเบต้าคาโรตัน ปริมาณ Retinol ถั่ว Garbenzo 1/2 ถ้วย 141 หน่อไม้ฝรั่ง 120 มันหวาน 43 แคนตาลูบ 100 น้ำส้ม 1 ถ้วย 87 ธัญญพืชสำเร็จรูป 1ถ้วย/1ออนซ์

51 ปริมาณ Vitamin C (มก./วัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 25 30 New DRI 50 15 WHO 2002 36

52 แหล่งอาหารของวิตามินซี(มิลลิกรัม) ในนมแม่ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
ปริมาณ มิลลิกรัม น้ำส้ม 1 ถ้วย 82 เนื้อผลไม้กีวี 108 พริกสีเขียว 1/2ถ้วย 95 กระล่ำดอก 75 บรอคโคลี่ 48 มะเขือเทศชื้น 33

53 ปริมาณ Fluoride (ไมโครกรัมต่อวัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 0.05 New DRI 0.5 0.7 WHO 2002 NA

54 ปริมาณ Selenium (ไมโครกรัมต่อวัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 10 15 New DRI 20 WHO 2002 17

55 แหล่งอาหารของเซลีเนียม(ไมโครกรัม)
ปริมาณ ไมโครกรัม Lobster 3 ออนซ์ 66 ปลาทูน่า 60 กุ้ง 54 หอยนางรม 48 ตับ 56 ไข่ 37

56 ปริมาณ Iron (มก./วัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 11 6 New DRI 7 WHO 2002 9.3 5.8

57 ธาตุเหล็ก (Iron) ส่วนประกอบของ hemoglobin, myoglobin, cytochrome ขนส่งออกซิเจนให้เซลล์ Coenzyme ของเอนไซม์ในสมองหลายชนิด การสร้างสาร neurotransmitter

58 ปริมาณธาตุเหล็กที่ควรได้รับ ประจำวันตามDRI for Thais
กลุ่มอายุ ปริมาณที่ควรได้ (มก.) ทารก 0-5 เดือน 6-12 เดือน น้ำนมแม่ 9.3 เด็ก 1-3 ปี 4-5 ปี 6-8 ปี 5.8 6.3 8.1 หญิงวัยรุ่น 9-18 ปี หญิง > 19 ปี-50 ปี 24.7 หญิงตั้งครรภ์ +60 หญิงให้นมบุตร 15 กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

59 ความต้องการธาตุเหล็ก ช่วงที่มีสมองและร่างกายโตเร็ว
อาหารทารกและเด็กต้องมีเหล็กเพียงพอตั้งแต่แรกเกิดทั้งนี้ขึ้นกับ bioavailability ของอาหาร นมแม่มีเหล็กในหัวน้ำนม มก/ลิตรและลดลงเหลือ มก/ลิตร ในนมแม่ที่แก่เต็มที่ ทารกที่ได้รับนมผสมเสริมเหล็กในช่วงอายุ6-9เดือนมีระดับฮีโมโกลบินที่สูงชัดเจนและแตกต่างจากเด็กที่ได้นมผสมที่ไม่เสริมเหล็กจนอายุ16-19เดือน (Fillet LJ 1990) ทารกที่มีภาวะขาดธาตุเหล็กจะมีการเปลี่ยนแปลงของglutamine metabolismแช่นเดียวกับคนไข้ธาลัสซีเมีย(Agarwal,2001)

60 แหล่งอาหารของเหล็ก (มิลลิกรัม)
ปริมาณ มิลลิกรัม ตับ 3ออนซ์ 7.5 เนื้อหมู 2.7 ถั่วเหลือง 3 ออนซ์ น้ำลูกพรุน 1 ถ้วย 9.0 ผักโขม ½ ถ้วย 2.3 ถั่วสด 1.6

61 ธาตุเหล็กในอาหาร ช่วงอายุ 6 -24 เดือนต้องการ 1มก/วัน
จากน้ำนมแม่วันละ 0.6 มก(น้ำนมแม่มีธาตุเหล็ก มก/ดล.ดูดซึมธาตุเหล็ก20%) เพิ่มจากอาหาร 0.4 มก (อาหารเสริมที่มีธาตุเหล็ก4มก. และดูดซึมเพียง10%) ไข่แดง1 ฟอง(ธาตุเหล็ก 2 มก.)กับ ตับ1ช้อนโต๊ะ(ธาตุเหล็ก 4 มก.)จึงได้ธาตุเหล็ก0.6 มก.

62 ผลเสียในระยะยาวของ การขาดธาตุเหล็กในวัยทารก
6 follow-up studies in late pre-school children 4 follow-up studies in school-aged children Effect of iron deficiency anemia: Poorer in cognitive, motor, social-emotional functions, and neurophysiologic tests eg. auditory brainstem response, visual evoked potentials Mechanisms: brain metabolism, myelination, neurotransmitters Lozoff B et al. Nutr Rev 2006.

63 ปริมาณ Zinc (มก./วัน) ที่ทารกและเด็กต้องการ
ข้อกำหนด 6-8 เดือน 9-11 เดือน 12-23 เดือน WHO UNICEF,1998 2.8 New DRI 3 WHO 2002 4.1

64 แหล่งอาหารของสังกะสี(มิลลิกรัม)
ปริมาณ มิลลิกรัม ตับ 3 ออนซ์ 4.6 เนื้อหมู 2.4 ถั่วแห้งต้ม 1.0 ข้าวกล้อง ½ ถ้วน 0.6 ถั่วลิสง ½ ถ้วย 2.0 เมล็ดทานตะวัน 1.7

65 ธาตุสังกะสีในอาหาร อายุ 6- 12 เดือน ต้องการ 2.5-4 มก/วัน
ธาตุสังกะสีนมแม่ลดลงช่วง6 เดือนแรกหลังเกิด น้ำนมแม่มีไม่เพียงพอช่วงอายุ >6 เดือน เพิ่มอาหารเสริมช่วงอายุ 5-6 เดือน ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของทารกอย่างชัดเจน อาหารเสริมที่มีธาตุสังกะสี ได้แก่ ถั่วแห้ง (2.5/100 มก.) เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ (5.4/100 มก.) เห็ดหูหนู/เห็ดหอม (5-7/100 มก.) และตับหมู(5.1/100มก) ภาวะขาดสังกะสีไม่มีผลต่อสมองในคน(GolubMS.et al ) ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยมีพัฒนาการสมองดีขึ้นหลังเสริมสังกะสี (Bhatnagar S and Taneja S,2001)

66 ข้อสรุป อาหารเสริมสำหรับทารกนมแม่
ก่อนตัดสินใจเริ่มน้ำ เครื่องดื่ม นมผสม หรืออาหารอื่นๆก่อนอายุ6เดือนต้องคำนึงถึงความพร้อมด้านสรีรวิทยาของทางเดินอาหาร ไต และพัฒนาการของเด็ก ปริมาณและชนิดของอาหารเสริมขึ้นกับปริมาณสารอาหารที่ควรรับประทานในแต่ละกลุ่มอายุ และความหนาแน่นชองสารอาหารในอาหารชนิดนั้นๆ จำนวนมื้ออาหารขึ้นกับปริมาณอาหารต่อมื้อที่เด็กสามารถรับประทานได้และความหนาแน่นของสารอาหารที่จัดในแต่ละมื้อ

67 แนวปฏิบัติการให้อาหารเสริม ในระดับครอบครัว
อายุ 6 เดือน ข้าวบดกับน้ำแกงจืด ไข่แดง เนื้อสัตว์ ตับ ผักบด ฟักทอง มะเขือเทศ แครอท ให้อาหาร 1 มื้อ ให้ผลไม้สุกเป็นอาหารว่างวันละครั้ง อายุ 8 เดือน ให้อาหาร 2 มื้อ ผลไม้เป็นอาหารว่าง วันละครั้ง อายุ 10 เดือน ให้อาหาร 3 มื้อ ผลไม้เป็นอาหาร ว่างวันละครั้ง

68 ความต้องการต่อวันของเด็กอายุ 1 ปี: แคลเซียม 270 มก. ฟอสฟอรัส 275 มก.
ความต้องการต่อวันของเด็กอายุ 1 ปี: แคลเซียม 270 มก. ฟอสฟอรัส 275 มก. แคลเซียม (มก.) ฟอสฟอรัส ข้าวสุก 2 ส่วน 15 68 เนื้อสัตว์ 1 ส่วน 4 53 ไข่ 1 ฟอง 25 96 ผักใบเขียว 1 ส่วน 40 50 ผลไม้ 1 ส่วน 30 20 นมแม่ 130 75 รวม 244 362

69 ธงโภชนาการ ผักบางชนิดเช่น คะน้า ผักกาดเขียว ปลาเล็กๆ กุ้งแห้ง เต้าหู้
นม วันละ 2 – 3 แก้ว ปลาเล็กๆ กุ้งแห้ง เต้าหู้ หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม

70 ตัวอย่างอาหารเสริมทารกอายุ 6-8 เดือน สำหรับป้อนวันละ 2 มื้อ
ตัวอย่างอาหารเสริมทารกอายุ 6-8 เดือน สำหรับป้อนวันละ 2 มื้อ ส่วนประกอบต่อ 1 มื้อ ปริมาณ น้ำหนัก (กรัม) ข้าวสวย 4 ช้อนกินข้าว 40 น้ำแกงจืด 10 100 ไข่แดง 0.5 ฟอง 7 ตำลึง 1.5 12 น้ำมันพืช ช้อนชา 2.5 สัดส่วนของพลังงานที่ได้รับจาก ให้พลังงาน 110 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตีน โปรตีน 2.9 กรัม เท่ากับ 48.4 : 40.7 : 10.6 ความเข้มข้นของพลังงาน 0.8 กิโลแคลอรี/กรัม น้ำหนักอาหารทั้งหมดต่อ 1 มื้อ กรัม น้ำหนักอาหารเมื่อแล้วเสร็จ กรัม (น้ำหนักอาหารจะลดลงประมาณ 15-20% เมื่อแล้วเสร็จ)

71 ตัวอย่างอาหารเสริมทารก อายุ 6-8 เดือน สำหรับป้อนวันละ 2 มื้อ
ตัวอย่างอาหารเสริมทารก อายุ 6-8 เดือน สำหรับป้อนวันละ 2 มื้อ ส่วนประกอบต่อ 1 มื้อ ปริมาณ น้ำหนัก (กรัม) ข้าวสวย 4 ช้อนกินข้าว 40 น้ำแกงจืด 10 100 เนื้อปลาทูนึ่ง 1 ½ 13.5 ฟักทอง ข้อนกินข้าว น้ำมันพืช ช้อนชา 2.5 สัดส่วนของพลังงานที่ได้รับจาก ให้พลังงาน 109 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตีน โปรตีน 4.6 กรัม เท่ากับ 52.8 : 28.7 : 16.8 ความเข้มข้นของพลังงาน 0.76 กิโลแคลอรี/กรัม น้ำหนักอาหารทั้งหมดต่อ 1 มื้อ กรัม น้ำหนักอาหารเมื่อแล้วเสร็จ กรัม (น้ำหนักอาหารจะลดลงประมาณ 15-20% เมื่อแล้วเสร็จ)

72 ตัวอย่างอาหารเสริมทารก อายุ 9-11 เดือน สำหรับป้อนวันละ 3 มื้อ
ส่วนประกอบต่อ 1 มื้อ ปริมาณ น้ำหนัก (กรัม) ข้าวสวย 4 ช้อนกินข้าว 40 น้ำแกงจืด 10 100 เนื้อปลาทะเลไม่มีก้าง 1 ½ 22.5 ตำลึง 2 20 น้ำมันพืช ช้อนชา 2.5 สัดส่วนของพลังงานที่ได้รับจาก ให้พลังงาน 109.6 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต : ไขมัน : โปรตีน โปรตีน 6.3 กรัม เท่ากับ 50.7 : 25.5 : 22.9 ความเข้มข้นของพลังงาน 0.7 กิโลแคลอรี/กรัม น้ำหนักอาหารทั้งหมดต่อ 1 มื้อ 185 กรัม น้ำหนักอาหารเมื่อแล้วเสร็จ กรัม (น้ำหนักอาหารจะลดลงประมาณ 15-20% เมื่อแล้วเสร็จ)

73 ปลอดภัย เน้นความสะอาดในการเตรียม การเก็บ และป้อนอาหาร
- อุปกรณ์ / ภาชนะต้องสะอาด - ล้างมือก่อนเตรียมและป้อนอาหาร - ล้างผักและผลไม้ให้สะอาด ปัจจุบันยกเลิกคำแนะนำการให้น้ำส้มคั้นแก่ทารกแล้ว

74 อาหารที่เตรียมเองในครอบครัว
ควรใช้อาหารที่มีในท้องถิ่น หรืออาหารครอบครัว คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาด และประหยัด - ไข่แดง โปรตีน วิตามินเอ และแร่ธาตุ - ตับโปรตีน วิตามินเอ บี1 บี2 และธาตุเหล็ก - เนื้อสัตว์ต่างๆ โปรตีน เหล็ก สังกะสี วิตามิน (ปลาทะเล มี DHA สูง) - ผัก วิตามิน แร่ธาตุ ใยอาหาร - ผลไม้ วิตามิน แร่ธาตุ ให้กินเป็นอาหารว่าง

75 อาหารเสริมที่จำหน่ายในท้องตลาด
1. อาหารเสริมสำเร็จรูป พร้อมกินได้ทันที ราคาแพงกว่า

76 อาหารเสริมที่จำหน่ายในท้องตลาด
2. อาหารเสริมกึ่งสำเร็จรูป : มักมีสารอาหารไม่ครบถ้วน ต้องเติมไข่แดง เนื้อสัตว์ หรือผัก และต้องทำให้สุกก่อนให้ทารกกินทุกครั้ง : ราคาถูกกว่าอาหารเสริมสำเร็จรูป

77 ข้อสรุป อาหารเสริมสำหรับทารกนมแม่
การให้อาหารเสริมที่ไม่ได้สัดส่วนของอาหารจากสัตว์ทำให้เด็กเสี่ยงต่อการขาดProblem nutrients ในกรณีที่แด็กได้อาหารเสริมที่มีความหนาแน่นสารอาหารน้อยควรให้เด็กได้รับนมแม่ให้บ่อยครั้งเพื่อให้เด็กได้สารอาหารที่มีสูงเพิ่มมากขึ้น การให้อาหารเสริมที่มาจากแหล่งธรรมชาติช่วยให้เด็กได้รับสารอาหารที่หลากหลายและเพียงพอมากกว่าการได้รับอาหารสำเร็จรูปที่มีสารอาหารบางตัวแลได้รับน้ำตาลเกินตวามต้องการ

78 ทารกนมแม่อย่างพอเพียง
ขอบคุณที่ช่วยกัน ให้อาหารเสริม ทารกนมแม่อย่างพอเพียง

79 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt Complementary feeding and Natural Foods

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google