ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNattakamol Pisit-na ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
Module 6 ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหาย
จุดประสงค์ 1. ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายภายนอก
2
ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายภายนอก
ถลอก (Abrasion) ช้ำ (Bruising) บิดเบี้ยว (Distortion) แตก (Crack) บาด (Cut) รอยแทง (Puncture) แตกกระจาย (Shatter Cracks) ปริ (Skin Break)
3
ศัพท์และนิยามที่เกี่ยวข้องกับความเสียหายภายนอก
ฉีก (Skinning and feathering) แตก/แยกออกเป็นเสี่ยง ๆ (Split) ปลายขั้วฉีก (Stem end tearing) บวมแตก (Swell-Cracking)
4
ความเสียหายภายใต้ภาระสถิตถาวร (Damage under Dead Load)
ในสภาวะการจัดการและขนย้ายผลิตผลเกษตรปัจจุบัน ผลิตผลอาจถูกกระทำด้วยความดันที่สูง เกินไป ทำให้เกิดความเสียหายภายในและภายนอกแก่ผลิตผล ในรูปการบิดเบี้ยว (Distortion) การแตก(Crack) การช้ำภายใน และความเสียหายอื่น ๆ ส่งผลต่อคุณภาพและการกำหนดชั้นของวัสดุนั้น ๆ
5
ความเสียหายจากการสั่นสะเทือน (Vibration damage)
ความเสียหายของผัก ผลไม้ จากการขนส่งที่ เรียกว่า การช้ำของลูกกลิ้ง (Roller Bruising) เป็นปัจจัยที่สำคัญอันหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของผัก ผลไม้สดและแปรรูป สาเหตุของความ เสียหายมาจากความล้า (Fatique) เนื่องจากแรงของการสั่นสะเทือนซ้ำแล้วซ้ำเล่าต่อผลไม้ส่งผลให้เซลล์ภายใต้ผิวผลไม้แตก
6
ความเสียหายจากการสั่นสะเทือน (Vibration damage) (ต่อ)
ข้อแนะนำสำหรับการลดความเสียหายในการขนส่ง - ควรใช้ลังบรรจุผลไม้ที่แข็ง เพื่อเพิ่มค่าความถี่ธรรมชาติ - ยางรถบรรทุกควรอ่อนเพื่อทำให้ความถี่ธรรมชาติของรถบรรทุกลดลง - ระบบกันสะเทือนด้วยอากาศหรือสปริงที่อ่อนกว่าจะแยกภาระออกจากยางรถ - ระบบหล่อลื่นสปริงที่มีภาระกระทำอยู่ จะทำให้การเคลื่อนที่ของแผ่นแหนบสปริง อิสระได้แน่นอน - บรรจุผลไม้ด้วยระบบ “บรรจุเต็มแน่น” (Tight-fill pack)
7
กลศาสตร์ของการล้มเหลวในผลไม้และผัก (Mechanics of Failure in Fruits and Vegetables)
- การจำแนกความล้มเหลวในผลไม้และผัก - การล้มเหลวจากการเฉือน (Shear Failure) - การแทนสถานะแรงดันเค้นทั่วไปด้วยกราฟ - ความแข็งแรงเฉือนและความแข็งแรงแตก - ไดอะแกรมความล้มเหลวสำหรับการแตกเลื่อนและการช้ำ
8
ความสัมพันธ์ระหว่างแรง – พลังงาน – ปริมาตร การช้ำ - อีกมุมมองของเกณฑ์ความล้มเหลว
ถ้าเนื้อผลไม้เหนือชั้นที่ช้ำสีน้ำตาลทั้งหมดถูกมองว่าช้ำ ปริมาตรช้ำที่ได้อาจสามารถคำนวณได้ 2 แบบ คือ 1. ปริมาตรช้ำของแก้มแอ็ปเปิ้ลหรือครึ่งผล (VH) และ 2. ปริมาตรช้ำของแอ็ปเปิ้ลทั้งผล (VW) ภาพที่ 8.11 การตรวจสอบโดย scanning electron microscope
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.