งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก
โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก ดร.วีรพัฒน์ เศรษฐ์สมบูรณ์ นายเสกสรร บัวระภา และนายรังสฤษฏ์ สุทธิคุณ จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขิง เป็นพืชเศรษฐกิจ ซึ่งมีคุณค่าทั้งในเชิงอาหารและเครื่องเทศที่สำคัญของโลก ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นมูลค่า 1,000 ล้านบาทต่อปี พื้นที่ปลูก : ปลูกในภาคเหนือ % ของทั้งประเทศ ตลาดส่งออก : ประเทศญี่ปุ่น ประคู่แข่ง : จีน ปัญหา : ต้นทุนโลจิสติกส์สูงกว่าประเทศคู่แข่ง แนวทางแก้ไข : การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุน การขนส่ง วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดองเพื่อกำหนดรูปแบบในการพัฒนา หาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงงานขิงดองเพื่อการส่งออก การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง การ เก็บเกี่ยว ผลผลิต ตรวจสอบ มาตรฐาน ส่งเสริม การผลิต การปรับปรุง ดินและ ชลประทาน การจัดการ พื้นที่ การพัฒนาเพิ่มผลผลิตและคุณภาพต้นทุน การแปรรูปเพื่อเพิ่มคุณค่า การพัฒนา แปรรูป มาตรฐานและย้อนกลับ คุณภาพ เพื่อส่งออก การพัฒนาระบบตลาด การเพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน การส่งเสริม การตลาด ระบบ โลจิสติกส์ การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง ใช้การวิเคราะห์จุดอ่อนและจุดแข็งของอุตสาหกรรม ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ถึงปลายน้ำ ซึ่งมีผลการวิเคราะห์ดังนี้ การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงงานขิงดองเพื่อการส่งออก การผลการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าขิงดอง ทำให้เห็นถึงความต้องการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ โดยการหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสม ใช้เทคนิค Center of gravity ซึ่งจำแนกการหาที่ตั้งเป็น 3 ประเภท ดังนี้คือ 1. กลยุทธ์ทำเลใกล้แหล่งวัตถุดิบหลัก ( Main Raw Material - Positioned Strategy) 2. กลยุทธ์ทำเลใกล้แหล่งวัตถุดิบทั้งหมด (All Raw Material – positioned Strategy) กลยุทธ์ทำเลอยู่ใกล้ตลาด (Market – positioned Strategy) การประยุกต์ใช้เทคนิค Center of gravity ในการคำนวณหาพิกัดตำแหน่งโดยมีหลักการคือ ต้องหาพิกัดตำแหน่งในปัจจุบันซึ่งต้องเป็นพิกัด X และพิกัด Y และการค่าน้ำหนัก (weight) เพื่อใช้ประกอบการคำนวณโดยใช้โปรแกรม MapMagic ในการหาพิกัดจุดภูมิศาสตร์ของอำเภอที่ปลูกขิงใน 7 จังหวัดภาคเหนือซึ่งมี 48 อำเภอ

2 การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก
โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก รูปแบบทางคณิตศาสตร์ของการกำหนดทำเลที่ตั้ง สมการในการคำนวณหาพิกัด ตัวแปร = จุดศูนย์ถ่วงน้ำหนัก พิกัดตามแกน X = จุดศูนย์ถ่วงน้ำหนัก พิกัดตามแกน Y = พิกัดตามแนวแกน X ของพื้นที่ I = พิกัดตามแนวแกน Y ของพื้นที่ i = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ i = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ j = ปริมาณขิงอ่อนของแต่ละ พื้นที่ k = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งขิงอ่อน = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งเกลือและอื่นๆ = ค่าน้ำหนักของการเคลื่อนที่ของปริมาณขนส่งขิงดอง การกำหนดค่าน้ำหนัก ปริมาณ (ตัน) จำนวนเที่ยงการขนส่ง(เที่ยว) ค่าน้ำหนัก 111,458.66 13,933 11,145.86 1,593 128,177.46 3,663 การคำนวณได้กำหนดค่าน้ำหนัก โดยคิดจากปริมาณขิงอ่อน 70.78% ปริมาณเกลือที่ใช้ดองขิง 7.08 % ส่วนผสมอื่น ๆ 3.54% ซึ่งสามารถผลิตขิงดองที่ออกที่ท่าเรือ % โดยสามารถคำนวณเป็นค่าน้ำหนักได้ดังนี้ การหาพิกัดที่ตั้งโรงงาน โดยประยุกต์ใช้เทคนิค Center of Gravity จังหวัด อำเภอ ปริมาณขิงอ่อน เฉลี่ย( ตัน ) พิกัด ค่าน้ำหนัก X Y เพชรบูรณ์ หล่มสัก 101.24 16.77 หล่มเก่า 97.175 101.22 16.88 ตาก กิ่ง อ.วังเจ้า 1,090.47 99.23 16.69 หมายเหตุ : ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณหาตำแหน่งที่ตั้งโรงงานขิงดองยังมีอีกซึ่งไม่ได้แสดงรายละเอียด ตัวอย่างการคำนวณ พิกัด X พิกัด Y ผลการวิเคราะห์ พิกัด Main Raw Material positioned Strategy All Raw Material positioned Strategy Market X 100.79 100.72 100.81 Y 17.94 17.35 14.251 การจำแนกที่ตั้งโรงงานขิงดองทั้ง 3 ประเภท ได้ตำแหน่งที่ตั้งโรงานที่เหมาะสมดังนี้ Main Raw Material – positioned Strategy All Raw Material – positioned Strategy Market– positioned Strategy อำเภอฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์ อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2
Value Chain & Value Added : สินค้าเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น Value Chain การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การจัดการ พื้นที่/ แปลงปลูก การส่งเสริม การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับ ปรุง ดิน การจัด การ ระบบ น้ำ การจัด การ ศัตรู พืช การเก็บ เกี่ยว ผล ผลิต การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การแปรรูป เพื่อเพิ่มและ สร้างคุณค่า การ พัฒนา ประสิทธิ- ภาพระบบ การ พัฒนา แปรสภาพ และแปรรูป การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อส่งออก การเพิ่ม ขีดความ สามารถ ในการ แข่งขัน การกระจาย สินค้าและ โลจิสติกส์ ส่งเสริมการ ตลาดแบบ Contract Farming การพัฒนา ระบบตลาด การสร้าง เครือข่ายห่วง โซ่อุปทาน การจัดทำ ระบบฐาน ข้อมูล ศูนย์ปฏิบัติงาน เครือข่าย อาหารปลอดภัย พริก: Chilli ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ยาใช้ภายใน ยาธาตุ ยาขับลม อุตสาหกรรมยา ยาเจริญอาหาร ส่วนผสมของครีมหรือเจลบรรเทาอาการปวดเมื่อย ยาใช้ภายนอก ส่วนผสมของขี้ผึ้ง ซอสพริก พริกดอง พริกสด อาหารคน เครื่องแกง อุตสาหกรรมอาหาร พริกป่นประ กอบอาหาร พริกแห้ง พริก อาหารสัตว์ น้ำพริก พริกป่น ครัวเรือน พริกประกอบอาหาร ส่วนผสมของอาหารไก่ พริกป่นใน บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ส่วนผสมของโลชันบำรุงผิว อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง ส่วนผสมในครีมลดความอ้วน อุตสาหกรรมยานยนต์ ส่วนผสมในสายไฟรถยนต์กันหนูกัด อุตสาหกรรมอื่น ๆ ส่วนผสมของแก๊สน้ำตา

4 ส่วนประกอบในการปรุงอาหาร
Value Added : สินค้าเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร กล้วย:Banana กล้วยตาก สัตว์ อาหารสัตว์ การแปรรูปขั้นต้น กล้วยกวน ผล อุตสาหกรรมยา สารเคลือบยา กล้วยฉาบ การแปรรูปโดย ใช้เทคโนโลยี อื่น ๆ อาหาร คน อุตสาหกรรมอาหาร กล้วยกระป๋อง แป้งกล้วย น้ำกล้วย เครื่องดื่ม กล้วย กล้วยผง ไวน์กล้วย ครัวเรือน ซอสกล้วย ส่วนผสมอาหารเด็ก อาหาร ก้านกล้วย เชือกกล้วย ขนมหวานต่าง ๆ บรรจุอาหารชั่วคราว ใบ งานประดิษฐ์ ลำต้น กระดาษสา ขิง:Ginger น้ำมันหอมระเหย ครีมขัดผิว ขิงสด สารสกัดจากขิง โลชัน/ครีม อุตสาหกรรมยา และเครื่องสำอาง ครีมลบเลือน ริ้วรอย ขิงแห้ง ส่วนประกอบของยา ขิงดอง อาหาร ขิงเชื่อม ขิง อุตสาหกรรมอาหาร ขิงผง เครื่องดื่ม น้ำขิง ครัวเรือน ส่วนประกอบในการปรุงอาหาร


ดาวน์โหลด ppt การหาทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานขิงดองเพื่อการส่งออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google