งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Principle of Occupational Medicine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Principle of Occupational Medicine"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Principle of Occupational Medicine
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล พบ.(เกียรตินิยมอันดับ1) วท.ม. (อาชีวเวชศาสตร์) วว. เวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11 พฤศจิกายน 2552

2 วัตถุประสงค์ แพทย์ประจำบ้านปีที่ 1 เข้าใจความสัมพันธ์
“การทำงาน” กับ “การเจ็บป่วย” ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการทำงาน เห็นประโยชน์ ในการดูแลการเจ็บป่วยจากการทำงาน ในฐานะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในอนาคต

3 อาชีวอนามัย / อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Health / Medicine)
คนทำงาน / กลุ่มอาชีพ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม บริการ แรงงานนอกระบบ

4 โรคที่เกิดขึ้นในกลุ่มประชากรวัยทำงาน
Occupational disease Work-related disease General disease

5 Work-related CVD increase
symptomatic level ? ill health workload natural disease progression time

6 Work condition Work Health Work environment

7 สิ่งคุกคามสุขภาพ (hazards)
ลักษณะงาน ท่าทางการทำงาน - ทำซ้ำๆ, ยืนนาน งานเครียด ทำงานเป็นกะ สิ่งแวดล้อม กายภาพ เสียง, แสง, ความดัน, ความร้อน, ฝุ่น สารเคมี เชื้อโรค

8 ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ - ก่อนป่วย
ทำงาน ป่วย บาดเจ็บ “สิ่งคุกคามสุขภาพ” ลักษณะ การทำงาน สภาพแวดล้อม

9 ความเจ็บป่วยจากการทำงาน
สิ่งแวดล้อม สัมผัส ผลกระทบ หรือโรค สิ่งคุกคามสุขภาพ เข้าสู่คน อาการ (ในที่ทำงาน) อาการแสดง

10

11 โรคจากการทำงาน....มีอะไรบ้าง?

12 สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2
Respiratory System Pneumoconiosis Silicosis Asbestosis Byssinosis Occupational asthma Chronic bronchitis Physical Hazards Noise induced hearing loss Decompression sickness Arterial gas embolism Heat stress source : Bureau of Epidemiology 2005

13 สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2
Contact Dermatitis ICD – irritant contact dermatitis ACD – allergic contact dermatitis Musculoskeletal Diseases Occupational back pain Animal poisoning Snake envenomation Insects & other animals Plant poisoning Mushroom poisoning Other plants source : Bureau of Epidemiology 2005

14 สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2
Heavy Metals Poisoning Lead Elevated Blood Lead mg/dl Arsenic Cadmium Mercury Solvents & VOCs Poisoning Benzene Toluene Styrene Trichloroethylene source : Bureau of Epidemiology 2005

15 สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2
Gas Poisoning Sulphur dioxide poisoning Nitrogen dioxide poisoning Carbon monoxide poisoning Ammonia poisoning source : Bureau of Epidemiology 2005

16 สำนักระบาดวิทยา : รายงาน 506 / 2
Agricultural chemicals and other chemicals Insecticides Organophosphate poisoning Carbamate poisoning Pyrethroid poisoning Rodenticides Zinc phosphide poisoning Herbicides Paraquat poisoning Glyphosate poisoning Other chemicals source : Bureau of Epidemiology 2005

17

18 โรคจากการประกอบอาชีพตาม ILO

19 โรคจากการทำงานตามกฎหมาย
Classify by hazards - Occupational disease from physical hazards - Occupational disease from chemical hazards - Occupational disease from biological hazards Classify by system - Occupational lung - Occupational dermatology - Musculoskeletal disease & work related - Occupational cancer

20 ประโยชน์ของการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
เพื่อจะได้ทำการรักษาผู้ป่วยได้ถูกต้อง เพื่อการป้องกันแบบทุติยภูมิเมื่อทราบสาเหตุโรค ทำให้สามารถป้องกันแบบปฐมภูมิ เพื่อไม่ให้คนงานในสิ่งแวดล้อมเดียวกันป่วยด้วยโรคเดียวกัน ใช้การป้องกันไม่ให้คนทำอาชีพเดียวกันป่วย

21 “ฉุกคิด” กันสักนิด ถ้าไม่ “ฉุกคิด” ไม่วินิจฉัย ไม่ได้ป้องกัน
ป่วย / ตาย โดยไม่จำเป็น ถ้า “ฉุกคิด” วินิจฉัย 1 ราย ป้องกัน 1,000 ราย ป่วย / ตาย เท่าที่จำเป็น ได้รับการชดเชย ภูเขาน้ำแข็ง

22 ประโยชน์ของการวินิจฉัยสาเหตุ (1)
ผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ

23 หลักการวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ
ต้องวินิจฉัยก่อนว่าเป็นอะไร สืบค้นข้อมูลการทำงานโดยละเอียด พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งคุกคามกับการเกิดโรค ทบทวนข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับสิ่งคุกคามกับผลกระทบต่อสุขภาพ พิจารณาสาเหตุอื่นๆที่อาจทำให้เกิดโรคได้ รวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อสรุปวินิจฉัย

24 อะไรเป็นบทเรียนที่สำคัญ

25

26

27

28 แนวทางในการวินิจฉัยโรคจากการประกอบอาชีพ
ผู้ป่วย ซักประวัติ-ตรวจร่างกาย สงสัยโรคจากการทำงาน? ประวัติการประกอบอาชีพ การตรวจเพิ่มเติม การตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การวินิจฉัยแยกโรค โรคจากการทำงาน Management Clinical Management กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม ปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENT HEALTH การฟื้นฟูสมรรถภาพ

29

30

31 แพทย์เฉพาะทาง กับ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์
epidemiology toxicology industrial hygiene Occ Env diseases การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน

32 Double Diagnosis ( ± occ med ) occ med ผู้ป่วย ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ตรวจเพิ่มเติม แพทย์สาขาอื่น ( ± occ med ) วินิจฉัยพยาธิสภาพ ซักประวัติการทำงาน สำรวจโรงงาน ตรวจวัดสภาพแวดล้อม ตรวจร่างกาย ตรวจเพิ่มเติม occ med Work-relatedness

33 ประโยชน์ของการวินิจฉัยสาเหตุ (1)
ผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ

34 สรุป – ในฐานะแพทย์ วินิจฉัย – โรค และ สาเหตุ รักษา (manage) รายงานโรค
รง 506/2 ทำงานร่วมกับทีมอาชีวเวชศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt Principle of Occupational Medicine

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google