ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยInthurat Ratana ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
Logo
2
Scope ทำไมต้องมีการตรวจประเมิน ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง
สมาคมเซลล์วิทยาตรวจใครบ้าง ขั้นตอนการตรวจประเมิน วิธีการตรวจประเมิน คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน ผลการตรวจ และการแก้ไข การรับรองห้องปฏิบัติการ MOU ระหว่างราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ
3
1. ทำไมต้องมีการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ
6
Quality of laboratory
7
Quality of laboratory
8
Quality of laboratory
10
Quality of laboratory
11
Quality of laboratory
12
Quality of laboratory
13
2. ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง 2. ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง
14
สถาบัน/มหาวิทยาลัยที่มีการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
โรงพยาบาลที่มีพยาธิแพทย์ Anatomical Pathology Clinical Pathology Forensic Medicine
15
3. สมาคมเซลล์ฯ ไปตรวจใครบ้าง
16
โรงพยาบาลที่ไม่มีพยาธิแพทย์แต่มีหน่วยบริการทางเซลล์วิทยา
17
4. ขั้นตอนการตรวจประเมิน
18
ขั้นตอนการตรวจประเมิน
หน่วยงานแสดงความจำนงขอรับการตรวจประเมิน ราชวิทยาลัยฯ ส่งแบบประเมินตนเอง, แบบข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน และคู่มือการขอรับการตรวจประเมินให้หน่วยงาน ราชวิทยาลัยฯ และ หน่วยงานกำหนดวันตรวจประเมิน หน่วยงานส่งแบบประเมินตนเอง และข้อมูลทั่วไปของหน่วยงานให้ราชวิทยาลัยก่อนวันตรวจประเมิน อย่างน้อย 3 สัปดาห์ กรรมการตรวจประเมินเดินทางไปยังหน่วยงานที่ขอรับการตรวจประเมิน
19
5. วิธีการตรวจประเมิน
20
แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค)
พยาธิวิทยาส่วนกลาง ข้อกำหนดด้านบริหารจัดการคุณภาพ ข้อกำหนดด้านวิชาการ ห้องปฏิบัติการ surgical pathology ห้องปฏิบัติการ histology laboratory ห้องปฏิบัติการ immunohistochemical laboratory ห้องปฏิบัติการ Electron microscopy
21
แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค)
ห้องปฏิบัติการ immunofluorescence ห้องปฏิบัติการ Flow/molecular ห้องปฏิบัติการ FISH/ISH ห้องปฏิบัติการ cytology ห้องปฏิบัติการ autopsy
22
แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค)
23
เป้าหมายของการตรวจประเมิน
ยืนยันผลการประเมินตนเอง ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน ประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และกระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนา
24
คำถามหลักในการตรวจประเมิน
มีการจัดระบบงานเหมาะสมหรือไม่ มีการปฏิบัติตามกระบวนการที่กำหนดไว้หรือไม่
25
คำถามหลักในการตรวจประเมิน
กระบวนการที่กำหนดนั้นทำได้ดีหรือไม่ มีความสำเร็จอะไรบ้าง มีปัจจัยเกื้อหนุนอะไร มีการติดตามดัชนีชี้วัดอะไร มีการใช้ประโยชน์จากดัชนีชี้วัดอย่างไร
26
คำถามหลักในการตรวจประเมิน
มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานหรือไม่ ปัญหาและการแก้ไขที่ได้ดำเนินการไปแล้วมีอะไรบ้าง ยังเหลือปัญหาอะไร และมีแผนการดำเนินการต่อไปอย่างไร
27
6. คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน
28
คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน
เป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยฯ มีประสบการณ์วิชาชีพอย่างน้อย 10 ปี และมีประสบการณ์ในการพัฒนาคุณภาพหรือให้คำปรึกษาด้านการพัฒนาคุณภาพ ผ่านหลักสูตรการอบรมผู้ตรวจประเมินของราชวิทยาลัยฯ ได้สังเกตุการณ์การตรวจประเมินอย่างน้อย 2 ครั้ง ได้รับการยินยอมจากองค์กรต้นสังกัด
29
7. ผลการตรวจ และการแก้ไข
30
ผลการตรวจประเมิน กรรมการตรวจประเมิน สรุปผลการตรวจประเมินด้วยวาจาแก่หน่วยงาน กรรมการฯ ส่งรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรให้ราชวิทยาลัยฯภายใน 5 วันทำการ ราชวิทยาลัยฯ ทำหนังสือแจ้งผลการตรวจประเมินเป็นลายลักษณ์อักษรมายังหน่วยงาน
31
การแก้ไข ในกรณีที่ต้องดำเนินการแก้ไขตามคำแนะนำของกรรมการต้องดำเนินการ ให้แล้วเสร็จ ใน 90 วันนับจากวันที่หนังสือถูกส่งโดยราชวิทยาลัยฯ
32
การแก้ไข หน่วยงานดำเนินการแก้ไขตามที่กรรมการแนะนำและส่งหลักฐานการแก้ไข มายังราชวิทยาลัยเพื่อให้กรรมการตรวจประเมินพิจารณา
33
การแก้ไข กรรมการตรวจประเมินให้การรับรองและทำรายงานส่งให้กรรมการบริหาร ราชวิทยาลัยฯ ทำการรับรอง และออกประกาศนียบัตรให้แก่หน่วยงาน
34
Time lines
35
8. การรับรองห้องปฏิบัติการ
36
รับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 5 ปี
ทำรายงานประเมินตนเอง ส่งมายังราชวิทยาลัยฯ ทุก 2 ปี
37
ราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ
9. MOU ระหว่าง ราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ
42
Questions ?
43
Logo
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.